Page 162 - sadasd
P. 162
7.2) ระบบกำรควบคุมแบบ Open Loop
ุ
ุ
ื
ระบบการควบคมแบบ Open Loop คอระบบควบคมที่เอ้าท์พุทของระบบจะไม่มีผลต่อ
การควบคุมเลย นั่นคือในกรณีของระบบการควบคุมแบบ Open Loop นั้นเอาต์พุตของระบบจะไม่ถูกวัดหรือ
ุ
ถูกป้อนกลับเพื่อน ามาเปรียบเทียบกับอินพุท ตัวอย่างของการควบคมแบบ Open Loop ได้แก่ การควบคม
ุ
ุ
ุ
สัญญาณไฟจราจร การควบคมสายพานล าเลียง การควบคมการปิด – เปิดไฟ การควบคมเครื่องซักผ้า
ุ
การควบคุมสัญญาณไฟโฆษณา เป็นต้น
รูปที่ 5.11 ระบบการควบคุมแบบ Open Loop
ที่มา :ดวงเด่น สามนาค และวรภัทร ปริชม.โครงการสอนวิชาโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร์
ี
ุ
ในการควบคมแบบ Open Loop นั้นเอ้าท์พุทไม่ได้น ามาเปรียบเทียบกับอินพุต ดังนั้นความ
ึ้
ุ
้
ิ
เที่ยงตรงของระบบจะขนอยู่กับการปรับเทียบ ในทางการปฏบัติแล้วจะสามารถใชการควบคมแบบ
์
้
่
Open Loop ได้ถาทราบถึงความสัมพันธระหวางอินพุทและเอ้าท์พุทของระบบ และระบบควบคมที่ท างาน
ุ
ตามเวลาที่ได้ก าหนดไว้ จะเป็นระบบการควบคุมแบบ Open Loop
7.3) ระบบกำรควบคุมแบบซีเควนซ์ (Sequential Control System)
้
ระบบการควบคมแบบซีเควนซ์หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งวาระบบการควบคมแบบเรียงล าดบ
้
ุ
่
ุ
ั
หมายถึง กระบวนการท างานของเครื่องจักรที่ประกอบด้วยการท างานที่หลายขั้นตอน และสามารถแยกล าดบ
ั
ั
ขนตอนในระบบการท างานต่างๆ เหล่านั้นออกจากกันได้อย่างชดเจน ซึ่งในที่นี้จะเรียกวา สเต็ป (Step)
่
ั้
่
วางเรียงกันไปตามล าดับ ส่วนการท างานในแต่ละสเต็ปถดไปจะถูกก าหนดเงื่อนไขในการท างานซึ่งจะเรียกวา
ั
ทรานซิทชั่น ( Transition )
คุณสมบัติของระบบการควบคุมแบบซีเคว้นซ์
ั
- โปรแกรมควบคมจะแบ่งออกเป็นขนตอนหรือเป็นแบบสเต็ปได้อย่างชดเจน ท าให้ง่าย
ั้
ุ
ส าหรับในการตรวจสอบและแก้ไขโปรแกรม
- ระบบควบคมแบบซีเควนสามารถเขยนโปรแกรมในรูปแบบของภาษา ซีเควนซ์เชยล
ุ
้
้
ี
ี
ฟังก์ชั่นชาร์จ (Sequent ion Function Chart: SFC)
32025301 การควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติก