Page 46 - sadasd
P. 46
ั้
่
2. มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบขนาน (Shunt Motor) หรือเรียกวาชนท์มอเตอร์
มอเตอร์แบบขนานนี้ขดลวดสนามแม่เหล็กจะต่อ (Field Coil) จะต่อขนานกับขดลวด ชดอาเมเจอร์มอเตอร์
ุ
แบบขนานนี้มีคณลักษณะมีความเร็วคงที่แรงบิดเริ่มหมุนต่ า แต่ความเร็วรอบคงที่ชนท์มอเตอร์ส่วนมาก
ั้
เหมาะกับงาน เช่น พัดลมเพราะพัดลมต้องการความเร็วคงที่และต้องการเปลี่ยนความเร็วได้ง่าย
3. มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบผสม (Compound Motor) หรือเรียกวาคอมปาวด์มอเตอร์
่
ุ
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบผสมนี้จะน าคณลักษณะที่ดีของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง แบบขนาน และ
แบบอนุกรมมารวมกัน มอเตอร์แบบผสม มีคณลักษณะพิเศษคอมีแรงบิดสูง (High staring torque)
ื
ุ
ี
ิ
แต่ความเร็วรอบคงที่แต่ยังไม่มีโหลดจนกระทั่งมีโหลดเต็มที่มอเตอร์แบบผสมมีวธการต่อขดลวดขนานหรือ
ั้
ขดลวดชนท์อยู่ 2 วิธ ี
วิธีที่ 1ใช้ต่อขดลวดแบบชนท์ขนานกับอาเมเจอร์เรียกว่า ชอทชนท์(Short Shunt Compound Motor)
ั้
ั้
วิธีที่ 2 คือต่อขดลวด ขนานกับขดลวดอนุกรมและขดลวดอาเมเจอร์เรียกว่าลองชนท์คอมปาวด์มอเตอร์
ั้
(Long shunt motor)
กำรต่อมอเตอร์ไฟฟ้ำกระแสสลับ 1 เฟส
1. การต่อมอเตอร์สปลิทเฟสมอเตอร์
รูปที่ 3.4 การต่อมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟส
ที่มา : ณรงค์ศักดิ์ จันทะวันและศิริพงษ์ สายหยุด.สื่อการสอนพันมอเตอร์สปลิทเฟส
การท างานอาศัยหลักการเหนี่ยวน าทางแม่เหล็กไฟฟ้านั้นเองโดยที่ขดรันและขดสตาร์ทที่วางท ามุมกัน
90 องศาทางไฟฟ้าเพื่อท าให้เกิดสนามแม่เหล็กหมุน (Rotating magnetic field)ไปเหนี่ยวน าให้เกิดกระแส
ไหลในขดลวดกรงกระรอก (Squire large winding) กระแสส่วนนี้จะสร้างสนามแม่เหล็กขนไปผลัก
ึ้
กับสนามแม่เหล็กที่สเตเตอร์ เกิดเป็นแรงบิดที่โรเตอร์ให้หมุนไปเมื่อโรเตอร์หมุนด้วยความเร็ว 75 เปอร์เซ็นต์
ของความเร็วสูงสุดสวิตชแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลางจะตัดขดลวดสตาร์ทออก จากวงจรขดลวดสตาร์ทจะท างาน
์
เฉพาะตอนสตาร์ทเท่านั้น ส่วนขดรันจะท างานตลอดตั้งแต่เริ่มเดินมอเตอร์จนหยุดหมุน เมื่อจะน ามอเตอร์นี้
ไปใช้งานต้องให้หมุนตัวเปล่าก่อนแล้วจึงจะต่อโหลด
32025301 การควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติก