Page 44 - sadasd
P. 44
ุ
์
2. กำรควบคมกึ่งอตโนมัติ (Semi-Automatic control) เป็นการน าเอาอุปกรณประกอบ
ั
้
่
์
ิ
ุ
เขามาชวย ในการควบคมได้แก่ แมกเนติกคอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) และสวตชปุ่มกด
(Push Button Switch) เป็นต้น (ไวพจน์ ศรีธัญ.การควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า, 2552)
ิ
้
ุ
ิ
โดยการใชสวตซ์ปุ่มกด(push button) ที่สามารถควบคมระยะไกลได้ ซึ่งมักจะต่อร่วมกับสวตซ์
้
แม่เหล็ก ที่ใชจ่ายกระแสจ านวนมากๆให้กับมอเตอร์แทนสวิตซ์ธรรมดาซึ่งสวิตซ์แม่เหล็กนี้อาศัยผลการท างาน
้
ิ
ของแม่เหล็กไฟฟ้า วงจรควบคุมมอเตอร์ กึ่งอัตโนมัตินี้ตองอาศัยคนคอยกดสวตซ์จ่ายไฟให้กับสวิตซ์แม่เหล็ก
้
ิ
สวตซ์แม่เหล็กจะดูดให้หน้าสัมผัสมาแตะกันและจ่ายไฟให้กับมอเตอร์ และถาต้องการหยุดมอเตอร์
ก็จะต้องอาศัยคนคอยกดสวิตซ์ปุ่มกดอีกเช่นเดิม จึงเรียกการควบคุมแบบนี้ว่า การควบคุมกึ่งอัตโนมัติ
รูปที่ 3.2 แสดงการควบคุมกึ่งอัตโนมัติ
ที่มา : http://4.bp.blogspot.com/-
rSJOTQ1N1xc/UJtvXmV0K2I/AAAAAAAAAHg/_cnFPSPiuJs/s1600/assem5.jpg1/08/59
ั
ี้
ั
ุ
์
3. กำรควบคมอตโนมัติ (Automatic control) การควบคมแบบนี้จะอาศยอุปกรณชน า
ุ
ั
คอยตรวจจับการเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆ เช่น สวิตซ์-ลูกลอยท าหน้าที่ตรวจจับวัดระดับน้ าในถง คอยสั่งให้
ั
ิ
มอเตอร์ปั๊มท างานเมื่อน้ าหมดถง และสั่งให้มอเตอร์หยุดเมื่อน้ าเต็มถง, สวตซ์ความดัน ท าหน้าที่ตรวจจับ
ั
ความดันลมเพื่อสั่งให้ปั๊มลมท างาน, เทอร์โมสตัท ท าหน้าที่ตัดตอวงจรไฟฟ้าตามอุณหภูมิสูงหรือต่ า เป็นต้น
่
วงจรการควบคมมอเตอร์แบบนี้เพียงแต่ใช้คนกดปุ่มเริ่มเดินมอเตอร์ในครั้งแรกเท่านั้น ต่อไปวงจรก็ท างานเอง
ุ
โดยอัตโนมัติตลอดเวลา
32025301 การควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติก