Page 15 - สังคมผู้สูงอายุ (อย่างสมบูรณฺ์)
P. 15
การเป็นปราชญ์ชาวบ้านในชุมชนเป็นการ รู้ที่สามารถน�าไปปฏิบัติได้จริงในโลกที่มีความเจริญ
สร้างคุณค่าในตนเองอย่างชัดเจน ด้วยการน�าความ ก้าวทางเทคโนโลยีอย่างกว้างขวาง ทั้งนี้กลุ่ม
รู้ของตนเองที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ ผู้สูงอายุเป็นอีกกลุ่มหนึ่งที่สามารถน�าแนวคิด
หรือจากการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ในช่วงชีวิต การเรียนรู้ตลอดชีวิตนี้มาปรับใช้ เนื่องจากใน
หนึ่ง สิ่งเหล่านี้ล้วนสะท้อนให้เห็นถึงการกล้าที่จะ อนาคตผู้สูงอายุเป็นกลุ่มประชากรที่มีจ�านวนมาก
ยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับตนเองทั้งทาง เกินครึ่งในสังคมของกลุ่มประชากรทั้งหมด ซึ่งวัย
ด้านร่างกายและสังคม แล้วยังสามารถดึงความ แรงงานในปัจจุบันจะกลายเป็นผู้สูงอายุในอีก
สามารถและความรู้ที่มีในตนเองน�ามาใช้ให้เกิด 10-20 ปีข้างหน้านี้ ทั้งนี้การสนับสนุนให้มีการเรียนรู้
ประโยชน์กับตนเองและสังคมได้อย่างมีคุณค่า ตลอดชีวิตนี้ก็เพื่อเป็นการรองรับประชากรผู้สูงอายุ
ที่มีคุณภาพในอนาคตด้วย โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่
การเรียนรูตลอดชีวิตของผูสูงอายุ ต้องใช้การเรียนรู้แบบองค์รวมมาเป็นตัวช่วยขับ
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสังคมปัจจุบัน เคลื่อนมุมมองและความคิดใหม่ๆ ในสังคม เพื่อการ
สร้างการเรียนรู้ให้กับคนทุกกลุ่มวัย ทั้งวัยเด็ก วัย อยู่ร่วมกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตลอดเวลาได้
แรงงาน และแม้กระทั่งวัยสูงอายุ ถึงแม้ว่าจะเป็นวัย อย่างมีความสุขนั่นเอง
แห่งช่วงบั้นปลายชีวิตแล้วก็ตาม แต่การเรียนรู้ก็ยัง
ไม่ถึงจุดจบส�าหรับคนวัยนี้เช่นกันส�าหรับสังคม สรางองคความรูใหมผานกระบวนการวิจัยเชิง
ปัจจุบัน สรางสรรค
ด้วยแนวคิดในการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มุ่งเน้น การรับวัฒนธรรมใหม่ๆ มาจากสังคมตะวันตก
ให้เกิดการเรียนรู้แบบองค์รวมที่มีการผสมผสาน ของสังคมไทยปัจจุบันท�าให้เกิดการคิดค้นนวัตกรรม
กันระหว่างความรู้ในระบบและนอกระบบเพื่อ ที่สร้างคุณประโยชน์ให้กับสังคมไทยมากมาย
การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ที่รอบด้าน โดยที่ การเปิดกว้างในการเรียนรู้สิ่งใหม่อยู่ตลอดเวลา
การเรียนรู้ลักษณะนี้มีการพัฒนาการเพื่อการเรียน ของสังคมไทยเป็นเหมือนประตูชัยที่เปิดกว้างไว้
20 วารสารกึ่งวิชาการ