Page 36 - 06_การปองกนและปราบปรามการทจรต_Neat
P. 36

๒๙




                 ó. »ÃÐàÀ·áÅФÇÒÁÃعáç¢Í§¡Ò÷بÃÔμã¹»˜¨¨ØºÑ¹
                             ลักษณะของการทุจริตหรือคอรรัปชันเปนเรื่องของความสัมพันธในเชิงอํานาจ การตอรอง

                 ระหวางรัฐและธุรกิจเอกชน ซึ่งไมไดมีมิติทางดานเศรษฐกิจที่เกี่ยวของกับเรื่องเงิน ๆ ทอง ๆ หรือวัตถุ
                 เทานั้น แตที่สําคัญยังมีมิติทางดานการเมือง ที่เรียกกันวา คอรรัปชันทางการเมือง หรือ “ทุจริต

                 ทางการเมือง” ดวย โดยเปนการใชอํานาจในทางที่ผิดกฎหมายหรือโดยขาดคุณธรรม เพื่อผลประโยชน
                 ทางการเมือง เชน เพื่อทําลายคูแขงทางการเมือง โดยการทุจริตคอรรัปชันอาจพิจารณาไดจากในแง

                 ของรูปแบบ (Forms) ขนาด (Size) ระดับการยอมรับของชุมชน (Degree of Tolerability)
                 และลักษณะ (Dimension) ของการทุจริต
                             ñ. ã¹á§‹¢¹Ò´ มีการแบงคอรรัปชันออกเปนขนาดเล็ก (Petty Corruption) ซึ่งเปนการ

                 ติดสินบนกระทําโดยเจาหนาที่ในระดับลาง และคอรรัปชันขนาดใหญ (Grand Corruption) ที่กระทํา
                 โดยนักการเมืองและขาราชการชั้นผูใหญ

                             ò. ã¹á§‹ÃٻẺ คอรรัปชันไมไดมีรูปแบบใดเปนการเฉพาะแตมีหลายรูปแบบ
                 โดยขึ้นอยูกับสิ่งแวดลอม จํานวนเงิน กลวิธี และวัฒนธรรมซึ่งแตกตางกันไปในแตละสังคม โดยจะเปน
                 รูปแบบเฉพาะของแตละสังคม มีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย และมีความซับซอนมากยิ่งขึ้น เนื่องจาก

                 กิจกรรมการทุจริตในปจจุบันไมไดเกี่ยวของเฉพาะอํานาจหนาที่ของบุคคลสาธารณะในสังคมหนึ่งเทานั้น
                 หากแตยังเกี่ยวของกับธุรกิจเอกชนและการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่ทันสมัย และตลาดระดับโลกดวย

                             ó. ã¹á§‹¢Í§ÃдѺ¡ÒÃÂÍÁÃѺ¢Í§ªØÁª¹ มีการจําแนกการทุจริตคอรรัปชันตามหลักเกณฑ
                 ของสีที่สะทอนตามการยอมรับของชุมชน (Community’s tolerance) ที่มีตอการทุจริต โดยจําแนก
                 ออกเปน สีดํา สีเทา และสีขาว ตามลําดับ

                             ¡Ò÷بÃÔμÊÕ´íÒ (Black Corruption) เปนการกระทําที่ผูนําในสังคมและประชาชน
                 เห็นพองตองกันเปนสวนใหญวาการกระทําหนึ่งสมควรถูกตําหนิและถูกลงโทษ ไดแก การใชอํานาจหนาที่

                 หรือตําแหนงเพื่อหาประโยชนสําหรับตนเองหรือพรรคพวก โดยไมคํานึงวาผิดกฎหมายหรือไม หรือนํา
                 ความทุกขยากมาสูประชาชนและประเทศชาติหรือไม พฤติกรรมนี้แยกไดเปน ๒ กรณี คือ
                             (๑)  การใชอํานาจหนาที่เรียกรองเอาผลประโยชนจากผูกระทําผิดกฎหมายหรือผูตองการ

                 ความสะดวกโดยไมคํานึงวาผูที่ตนเรียกรองเอาผลประโยชนนั้นจะกระทําผิดกฎหมายหรือไม และ
                             (๒) การทุจริตคดโกงโดยไมคํานึงถึงความผิดตามกฎหมาย เปนการเจตนาฝาฝน

                             ¡Ò÷بÃÔμÊÕà·Ò (Gray Corruption) เปนการกระทําที่ผูนําในสังคมสวนหนึ่งเห็นวา
                 สมควรถูกลงโทษ แตผูนําในสังคมอีกสวนหนึ่งหรือประชาชนทั่วไปเห็นแตกตางออกไป ในขณะที่เสียง
                 สวนใหญมีความเห็นคลุมเครือไมแนใจวาเปนความผิดสมควรถูกลงโทษหรือไม กรณีนี้เปนการใช

                 อํานาจหนาที่หาประโยชนใหแกตนเองและพรรคพวกในลักษณะที่ประชาชนสมยอมตอการใชอํานาจ
                 โดยมิชอบนั้น เชน การใหคานํ้ารอนนํ้าชา การใหคานายหนา หรือเงินหักสวนลดราคาสินคา เปนตน

                 โดยแยกพฤติกรรมประเภทนี้ไดเปน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41