Page 34 - 06_การปองกนและปราบปรามการทจรต_Neat
P. 34

๒๗




                             ดังนั้น การทุจริตที่เกิดขึ้นในวงราชการและแวดวงการเมือง ยอมหมายถึงพฤติกรรมที่
                 เจาหนาที่ของรัฐใชอํานาจในตําแหนงหนาที่โดยมิชอบเพื่อมุงหวังผลประโยชนสวนตัว ซึ่งเปนพฤติกรรม

                 ที่เบี่ยงเบนไปจากวิธีปฏิบัติที่ยอมรับกันเพื่อใหไดประโยชนสําหรับตนเอง เปนพฤติกรรมของบุคคล
                 ที่ฉอฉลตอความไววางใจของสังคม โดยในบริบทของสังคมไทย การทุจริตเกี่ยวกับการใชอํานาจรัฐ

                 มีความหมายเดียวกับการฉอราษฎรบังหลวง ซึ่งนอกจากมีความหมายรวมถึงการที่เจาหนาที่ของรัฐทุจริต
                 คดโกงราชการ เรียกรองเอาผลประโยชนมาเปนของตน หรือโดยการขมขืนใจใหผูอื่นยอมใหหรือยอม

                 จะใหตนหรือใหผูอื่นไดประโยชนเปนทรัพยสินเงินทองที่ควรตองเอาเขาเปนรายไดหรือทรัพยสินของ
                 แผนดิน แตกลับเอาเปนของตนเองหรือใหพวกพอง นอกจากนี้ ยังรวมถึงการเรียกรองเอาคานํ้ารอน

                 นํ้าชา เงินใตโตะ การรับของขวัญ ซึ่งเปนการแสดงความรักเคารพและนับถืออันเนื่องมาจากตําแหนง
                 หนาที่ การเลนพวก หรือการใชเสนสาย การรับสินบน การกินเปอรเซ็นต และการใชอํานาจโดยมิชอบ

                 และการประพฤติมิชอบ ทั้งนี้โดยมีวิธีการแยบยล



                             ¤ÇÒÁËÁÒÂã¹·Ò§¡®ËÁÒÂ
                             คําวา “ทุจริต” ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑ (๑) หมายถึง “เพื่อแสวงหาประโยชน
                 ที่มิควรไดโดยชอบดวยกฎหมายสําหรับตนเองหรือผูอื่น”

                             คําวา “ทุจริตตอหนาที่” ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกัน
                 และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๔ หมายความวา ปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติอยางใด

                 ในตําแหนงหรือหนาที่ หรือปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติอยางใดในพฤติการณที่อาจทําใหผูอื่นเชื่อวา
                 มีตําแหนงหรือหนาที่ทั้งที่ตนมิไดมีตําแหนงหรือหนาที่นั้น หรือใชอํานาจในตําแหนงหรือหนาที่  ทั้งนี้

                 เพื่อแสวงหาประโยชนที่มิควรไดโดยชอบสําหรับตนเองหรือผูอื่น
                             ซึ่งการทุจริตตอหนาที่จะมีความหมายเชนเดียวกับการประพฤติมิชอบ โดยที่คําวา

                 “มิชอบ” หมายความวา “ไมเปนไปตาม กฎหมาย ระเบียบของทางราชการ คําสั่งของผูบังคับบัญชา
                 มติคณะรัฐมนตรี แบบธรรมเนียมของทางราชการ หรือตามทํานองคลองธรรม คือไมเปนไปตามทาง

                 ที่ถูกที่ควร” ดังนั้น การประพฤติมิชอบจึงหมายถึง กรณีที่เจาหนาที่ใชตําแหนงหนาที่ไปในทางที่ไมถูกตอง
                 แตไมเกี่ยวของกับการเรียกรองเงิน

                             จากบทบัญญัติแหงกฎหมายที่ไดใหคําจํากัดความของคําวา “การทุจริต” ดังนั้น การทุจริต
                 ในขอบเขตของกฎหมายไทย จึงหมายถึงพฤติการณ การกระทําของเจาหนาที่ของรัฐที่ไดปฏิบัติ

                 หรือละเวนการปฏิบัติหนาที่ ไมวาในกรณีดังกลาว เจาหนาที่ผูนั้นมีตําแหนงหรือหนาที่ในเรื่องนั้นหรือไม
                 หรือใชอํานาจในตําแหนงหรือหนาที่เพื่อวัตถุประสงคํในการแสวงหาประโยชนสําหรับตนเองหรือ
                 ผูอื่นโดยมิชอบ ไมวาพฤติการณดังกลาวจะมุงที่ผลประโยชนในทางทรัพยสิน หรือประโยชนทางอื่น

                 ที่มิใชทรัพยสินก็ตาม เชน การใชตําแหนงหนาที่เอื้อประโยชนแกญาติพี่นองหรือเพื่อนฝูง ซึ่งถือวา

                 เปนการเอารัดเอาเปรียบสวนรวมและไมเปนธรรมแกผูมีความรูความสามารถอันควรคูกับตําแหนงนั้น
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39