Page 32 - 06_การปองกนและปราบปรามการทจรต_Neat
P. 32

๒๕




                             ในมุมมองของนักวิชาการตางประเทศไดกลาวถึง ปจจัยสําคัญที่มีอิทธิพลตอการเกิด
                 คอรรัปชัน ๙ ประการ  ไดแก

                             (๑)  ระบบอุปถัมภ
                             (๒)  ความไมเทาเทียมกันของฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
                             (๓)  สังคมบริโภคนิยมที่มีชองวางระหวางความตองการกับความสามารถในการตอบสนอง

                 สินคาและบริการ
                             (๔)  การมีอํานาจในการควบคุมและแทรกแซงที่มากหรือนอยเกินไปของรัฐ

                             (๕)  การมีระเบียบกฎเกณฑที่มากหรือนอยเกินไป
                             (๖)  การขยายขอบเขตของบทบาทหนาที่ของรัฐบาลและการขยายขอบเขตของโครงสราง
                 สวัสดิการสังคมใหครอบคลุมมากยิ่งขึ้น

                             (๗)  ภาวการณขาดแคลนทางเศรษฐกิจและเงินเฟอ
                             (๘)  นักการเมืองที่ไมซื่อสัตยสุจริต

                             (๙)  การมีระบบสืบสวนและการควบคุมการทุจริตที่ไมเขมแข็ง
                             การไมใหความสนใจปญหาคอรรัปชันของผูนํา และการมีความรูความเขาใจที่จํากัด
                 เกี่ยวกับการคอรรัปชันของสาธารณชน

                             แตอยางไรก็ดี สาเหตุพื้นฐานที่กอใหเกิดการทุจริตนั้นไมวาจะเปนการอธิบายโดยอาศัย
                 หลักทางทฤษฎีในแงมุมใด นอกเหนือจากการขาดจิตสํานึกในตัวผูทุจริตเองแลว สวนสําคัญก็มาจาก

                 แรงผลักดันจากการเปลี่ยนแปลงของสังคม ซึ่งเปนสวนหนึ่งในการบีบคั้นใหคนในสังคมแปรเปลี่ยน
                 พฤติกรรมไปในทิศทางดังกลาว ประกอบกับการที่กฎเกณฑหรือขอบังคับในปจจุบันมีความออนแอ
                 หรือมีขอบกพรอง ไมวาจะเปนเพราะกฎเกณฑดังกลาวมีชองโหว หรือเพราะการบังคับใชที่ไรประสิทธิภาพ

                 จึงทําใหเกิดการทุจริตเกิดขึ้น
                             ñ.ñ áç¼ÅÑ¡´Ñ¹¨Ò¡¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§¢Í§Êѧ¤Á

                                   การทุจริตเปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจและสังคมอยางมากมาย
                 ทําใหเกิดความไมเทาเทียมกันในสังคม เกิดคานิยมของสังคมไทยที่เนนเรื่อง วัตถุนิยม ความมั่งคั่ง
                 รํ่ารวย ซึ่งทําใหบุคคลนั้นไดรับการยอมรับในสังคม ทําใหเกิดความโลภ เกิดการเลียนแบบพฤติกรรม

                 การแสวงหาประโยชนจากตําแหนงหนาที่
                                   แตในบางกรณีผูทุจริตอาจจะกระทําไปเพราะเห็นแกญาติพี่นองหรือพวกพอง

                 หรือตองการรักษาผลประโยชนเฉพาะกลุม อีกทั้งการแกปญหาดวยการผอนสั้นผอนยาว ประนีประนอม
                 ลวนนําไปสูกระบวนการสมัครใจหรือสมยอมกันในการใหประโยชนแกผูทุจริต หรือเพื่อเปนการยุติ
                 ขอขัดของอันเกิดขึ้นในระบบของการดําเนินการในองคกรตาง ๆ อยางไรก็ดีการที่สภาพเศรษฐกิจและ

                 สังคมมีความเปลี่ยนแปลง ทําใหผูทุจริตตกอยูในภาวะแวดลอมที่บีบคั้น ใหตองทําหรือเผชิญกับแรง
                 กดดันอยางรุนแรง ไมวาจะเปนเพราะภาวะบีบคั้นทางเศรษฐกิจที่ผูทุจริตไดรับความเดือดรอนมีความ

                 จําเปนตองใชเงิน จึงกอเหตุทุจริตขึ้นโดยวิธีการตางๆ
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37