Page 37 - 06_การปองกนและปราบปรามการทจรต_Neat
P. 37

๓๐




                          (๑)  การเรียกรองเอาประโยชนแทนการปฏิบัติหรือไมปฏิบัติหนาที่ หรือเพื่อเรงรัดงานให
              รวดเร็วยิ่งขึ้น หรืออาจมีการลดหยอนมาตรฐานความเขมงวดเกี่ยวกับระเบียบกฎเกณฑ และ

                          (๒) การใชตําแหนงหรืออํานาจหนาที่เพื่อหาผลประโยชนอยางเต็มที่ โดยเปนผูประกอบ
              ธุรกิจหรือมีผลประโยชนไดเสียกับบริษัทหางรานที่ทําธุรกิจกับสวนราชการที่ตนเองเปนผูรับผิดชอบ

                          ¡Ò÷بÃÔμÊÕ¢ÒÇ (White Corruption) เปนการกระทําที่ผูนําในสังคมและประชาชน
              ทั่วไป เห็นวาพอจะรับไดหรือยอมทนรับ คือไมเลวรายนัก การทุจริตในลักษณะนี้เปนเรื่องที่ผูนําในสังคม

              และมวลชนสวนใหญไมไดกระตือรือรนที่จะใหมีการลงโทษ เนื่องจากเปนการรับผลประโยชนโดยอิงอยูกับ
              ขนบธรรมเนียมประเพณี และมิไดเกิดจากการเรียกรองของผูรับ พฤติกรรมเชนนี้แยกไดเปน ๒ กรณี คือ
                          (๑)  การใหซึ่งเปนการแสดง “นํ้าใจ” ของผูนอยตอผูมีอํานาจวาสนา หรือผูที่อยูในตําแหนง

              หนาที่สามารถใหคุณใหโทษ และ
                          (๒) การใหซึ่งเปน “การตอบแทน” การปฏิบัติหรืองดเวนปฏิบัติของผูที่อยูในตําแหนง

              และเปนคุณประโยชนแกผูใหโดยผูรับมิไดเรียกรอง
                          ตัวอยางของการใหทั้งสองกรณี เชน การใหของขวัญที่มีคามากในโอกาสพิเศษตางๆ

              ไมวาจะเปนในโอกาสวันเกิด วันแตงงานลูกหลาน วันขึ้นปใหม หรือเปนเจาภาพในงานกุศลของผูมี
              อํานาจหนาที่ทางราชการ

                          ô. ã¹á§‹¢Í§ÅѡɳСÒ÷بÃÔμ การทุจริตของบรรดาบุคคลสาธารณะอาจแบงออกเปน
              ๓ มิติ คือ คอรรัปชันในการบริหารราชการแผนดิน (Administrative Corruption) คอรรัปชัน

              ทางเศรษฐกิจ (Economic Corruption) และคอรรัปชันทางการเมือง (Political Corruption)
                          ¤ÍÏÃÑ»ªÑ¹ã¹¡ÒúÃÔËÒÃÃÒª¡ÒÃἋ¹´Ô¹ เปนการใชอิทธิพลที่เกินกวาอํานาจทางกฎหมาย

              เพื่อไปกําหนดนโยบายและทําใหเกิดผล เชน การทําโครงการ การจัดซื้อจัดจางใหแกสมัครพรรคพวก
              ของตนเอง การซื้อขายตําแหนง การโยกยายตําแหนงโดยไมคํานึงถึงหลักการ ความสามารถและคุณธรรม
              แตกลับอาศัยความเปนเครือญาติหรือสมัครพรรคพวกเปนที่ตั้ง ฯลฯ

                          ¤ÍÏÃÑ»ªÑ¹·Ò§àÈÃÉ°¡Ô¨ เปนการแสวงหากําไรเกิน หรือที่นักเศรษฐศาสตร เรียกวา

              คาเชาทางเศรษฐกิจ (Economic Rents) โดยนิยามแลว คาเชาทางเศรษฐกิจถูกสรางขึ้น เมื่อรัฐเขาไป
              จํากัดการทํางานของตลาด ตัวอยางเชน กระบวนการที่มีการจํากัดปริมาณการแลกเปลี่ยนเงินตรา
              ตางประเทศ การควบคุมการคาและการใหสัมปทานผูกขาดแกพรรคพวก การจัดซื้อจัดจางในราคา

              ที่สูงเกินจริง และการแปรรูปวิสาหกิจใหกลายมาเปนทรัพยสินของตัวเอง ครอบครัว และพวกพอง ฯลฯ

                          ¤ÍÏÃÑ»ªÑ¹·Ò§¡ÒÃàÁ×ͧ เปนการใชอํานาจของรัฐบาลโดยขาดคุณธรรมและผิดกฎหมาย
              เพื่อผลประโยชนของตนเอง หรือเพื่อประโยชนทางการเมือง และผลประโยชนเชนวานี้ ไมจําตองเปนวัตถุ
              หรือเงินทองเสมอไป ตัวอยางของการทุจริตทางการเมือง เชน การซื้อเสียงในการเลือกตั้ง การปลอมแปลง

              บัตรเลือกตั้ง การกีดกันและกลั่นแกลงพรรคคูแขงของรัฐบาล โดยการใชอํานาจของกฎหมายและ
              หนวยงานของรัฐ การหลอกลวงดวยการประกาศนโยบายหาเสียงที่เกินจริงและไมมีทางปฏิบัติได ฯลฯ
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42