Page 30 - 06_การปองกนและปราบปรามการทจรต_Neat
P. 30

๒๓


                                                       º··Õè ó



                                         »ÃÐàÀ·áÅÐÃٻẺ¢Í§¡Ò÷بÃÔμ



                 ñ. ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤¡ÒÃàÃÕ¹»ÃШ Óº·

                             ๑.๑  เพื่อใหนักเรียนนายสิบตํารวจไดทราบถึงรูปแบบของการทุจริต

                             ๑.๒  เพื่อใหนักเรียนนายสิบตํารวจไดทราบถึงผลกระทบของการทุจริตตอการพัฒนา
                 ของประเทศ



                 ò. ʋǹ¹ Ó

                             ระบบอุปถัมภ เมื่อแปรเปลี่ยนไปเปนการกระทําเพื่อตองการผลประโยชนตอบแทน

                 โดยมิชอบทั้งทางดานกฎหมายหรือศีลธรรม ไมวาจะเปนการทําเพื่อประโยชนสวนตัวหรือพวกพอง
                 ก็ตาม ยอมสงผลกระทบทางดานลบตอสังคมโดยรวม ซึ่งในประเทศไทยการทุจริตไมใชปญหาเล็กนอย
                 หากมีผลกระทบกระเทือนทั้งทางดานสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง




                 ó. à¹×éÍËÒμÒÁËÑÇ¢ŒÍ
                             ๓.๑  ความหมายและประเภทของการทุจริต

                             ๓.๒  กฎหมายที่มีบทบัญญัติซึ่งแสดงใหเห็นถึงรูปแบบและวิธีการทุจริตในองคกรภาครัฐ



                 ô. ʋǹÊÃØ»

                             สรุปไดวา องคประกอบที่สําคัญในการพิจารณาวาการกระทําใดเปนการทุจริตหรือไม คือ
                 การกระทํานั้นมีลักษณะเปนการแสวงหาประโยชนอันมิควรไดโดยชอบสําหรับตน พวกพอง หรือผูอื่น

                 ไมวาจะเปนประโยชนในทางทรัพยสินหรือไม โดยอาศัยตําแหนงหนาที่หรืออํานาจที่ไดรับมอบหมาย



                 õ. ¡Ô¨¡ÃÃÁá¹Ð¹ Ó

                             ผูสอนตั้งปญหาใหนักเรียนวินิจฉัยเปนรายบุคคล และสวนรวม เพื่อใหรูจักคิด วิเคราะห
                 และวิจารณเนื้อหาที่เรียน ดวยการนําเทคนิค วิธีการตาง ๆ ซึ่งสามารถบูรณาการความคิดได



                 ö. ÃÒ¡ÒÃ͌ҧÍÔ§

                             แนวทางการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อสรางความตระหนักรูและมีสวนรวมในการ
                 ปองกันการทุจริตของสํานักงาน ป.ป.ช.
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35