Page 25 - 06_การปองกนและปราบปรามการทจรต_Neat
P. 25

๑๘




              สุจริต” และ “ความรอบรู” อันเปนเงื่อนไขที่จะทําใหเกิดการประพฤติปฏิบัติตนไดอยาง “มีเหตุผล” “รูจัก
              สิทธิ หนาที่” และ “ความรับผิดชอบในฐานะพลเมืองไทย” ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย

              ทรงเปนพระประมุข พรอมทั้งใหความสําคัญเกี่ยวกับการเสริมสรางความแข็งแกรงใหกับระบบ
              โครงสราง กลไกที่เปดโอกาสใหทุกภาคสวนพรอมทั้งการปฏิรูปกฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวของกับ

              การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เพื่อสราง “สมดุล” ในการจัดสรรและกระจายผลประโยชนจากการ
              พัฒนาใหทั่วถึงและเปนธรรม รวมทั้งสรางความมั่นคงของประเทศและสังคมใหมีความอยูรอดปลอดภัย

              อันจะเปน “ภูมิคุมกัน” และสงเสริมใหเกิดการบริหารจัดการและการพัฒนาประเทศใหเกิดดุลยภาพ
              ทั้งในมิติของเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และความมั่นคง ซึ่งจะนําไปสูสันติสุข

              และยั่งยืน



              ô. »˜ÞËÒ¡ÒâҴ¸ÃÃÁÒÀÔºÒÅ
                          การขาดธรรมาภิบาลในสังคมไทย จะแกไขปญหาไดดวยการปลูกจิตสํานึก เรียนรูและ

              เขาใจคานิยมที่ถูกตองใหแกเด็กและเยาวชนในวันนี้ที่จะเติบใหญเปนพลังสําคัญในการพัฒนาประเทศ

              ในวันขางหนา ที่สําคัญพวกเขาเหลานั้นตองตระหนักถึงความสําคัญของคําวา “ธรรมาภิบาล” สังคมไทย
              ตองปรับเปลี่ยนคานิยมซึ่งหมายถึงสิ่งที่คนๆ หนึ่งยึดถือวามีคุณคาและเปนกฎเกณฑการตัดสินใจ
              เลือกกระทําในสิ่งตางๆ คานิยมเปนปจจัยสําคัญที่กําหนดพฤติกรรมคอรรัปชัน ไดแก

                          ñ. ¤‹Ò¹ÔÂÁã¹Êѧ¤ÁÍØ»¶ÑÁÀ  ในความเปนจริงนั้น ระบบอุปถัมภมีสภาพเปน “กลาง”
              ดังนั้น ระบบอุปถัมภจะสงผลใหเกิดคุณหรือโทษจึงขึ้นอยูกับการนําไปใชของคนในสังคม อาจกลาวไดวา

              ในทุก ๆ ระบบของสังคมจําเปนจะตองมีระบบอุปถัมภเปนตัวเชื่อมประสานอยู และในสังคมไทยเชนกัน
               หากไมมีระบบอุปถัมภเสียเลย สังคมไทยอาจจะอยูไมได เพราะจะกลายเปนสังคมที่เห็นแกตัว

              และคนในสังคมขาดการพึ่งพาซึ่งกันและกันได เปนตน แตอยางไรก็ตามตองยอมรับวา คานิยมในสังคม
              อุปถัมภที่ใชอยางไมถูกตองเปนสาเหตุสําคัญของการฉอราษฎรบังหลวง ทั้งในวงการการเมืองและ

              ในวงการราชการ อาทิ
                             ñ.ñ ¤‹Ò¹ÔÂÁ¤³Ð¹ÔÂÁ คานิยมในระบบอุปถัมภมักนําไปสูการเลนพรรคเลนพวก

              จึงเปนเหตุใหขาราชการถือประโยชนของพวกพองมากกวาประโยชนของสวนรวม ภายในระบบ
              จะยึดโยงกันเปนเครือขายอุปถัมภตามความสัมพันธสวนบุคคล พิจารณาวาบุคคลใดเปนพวกพองมากกวา

              การพิจารณาความรูความสามารถหรือผลงาน หรือการละเลยการกระทําผิดของคนรูจัก ครอบครัว
              ญาติพี่นอง หรือคนที่ใหผลประโยชนแกตน คือ มิไดมองวาการกระทําดังกลาวเปนการกระทําผิดตอ

              ชาติบานเมือง
                             ñ.ò ¤‹Ò¹ÔÂÁ¹íéÒ¾Öè§àÃ×Í àÊ×;Ö觻†Ò สังคมไทยมีความสัมพันธแบบอุปถัมภที่ชัดเจน

              ลักษณะของการอุปถัมภจะอยูในลักษณะ “นํ้าพึ่งเรือ เสือพึ่งปา” เพื่อหวังผลประโยชนตอบแทนซึ่ง
              กัน และกัน อาทิ ความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชากับลูกนอง ขาราชการการเมืองกับขาราชการ
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30