Page 23 - 06_การปองกนและปราบปรามการทจรต_Neat
P. 23

๑๖




                          (๓)  ปฏิบัติตามกฎหมายอยางเครงครัด
                          (๔)  เขารับการศึกษาอบรมในการศึกษาภาคบังคับ

                          (๕)  รับราชการทหารตามที่กฎหมายบัญญัติ
                          (๖)  เคารพและไมละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น และไมกระทําการใดที่อาจกอ

              ใหเกิดความแตกแยกหรือเกลียดชังในสังคม
                          (๗)  ไปใชสิทธิเลือกตั้งหรือลงประชามติอยางอิสระโดยคํานึงถึงประโยชนสวนรวมของ

              ประเทศเปนสําคัญ
                          (๘)  รวมมือและสนับสนุนการอนุรักษและคุมครองสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ

              ความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งมรดกทางวัฒนธรรม
                          (๙)  เสียภาษีอากรตามที่กฎหมายบัญญัติ

                          (๑๐) ไมรวมมือหรือสนับสนุนการทุจริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ


              ó. ¸ÃÃÁÒÀÔºÒšѺ¡ÒÃμ‹ÍμŒÒ¹¡Ò÷بÃÔμ


                          ¸ÃÃÁÒÀÔºÒÅ (Good Governance) ตามความหมายของธนาคารโลก คือ ลักษณะ
              และแนวทางการใชอํานาจการเมืองเพื่อการบริหารจัดการบานเมืองโดยการจัดการทรัพยากร
              ทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเพื่อการพัฒนา เพื่อชวยในการฟนฟูเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งนี้

              โดยการเพิ่มศักยภาพของรัฐบาลใหสามารถบริการอยางมีประสิทธิภาพ มีระบบที่ยุติธรรม มีกระบวนการ
              ทางกฎหมายที่อิสระ รวมทั้งมีระบบราชการ ฝายนิติบัญญัติ สื่อที่มีความโปรงใส รับผิดชอบ

              และตรวจสอบได
                          ¸ÃÃÁÒÀÔºÒÅ ตามความหมายขององคการพัฒนาแหงสหประชาชาติ (United Nations

              Development Program - UNDP) คือ การดําเนินงานของผูมีอํานาจทางเศรษฐกิจ การเมือง
              และสังคม ที่จะจัดการกับกิจการของประเทศในทุกระดับ โดยใหความสําคัญกับการสงเสริมใหประเทศ

              ตางๆ พัฒนาตนเองในลักษณะที่พึ่งตนเองได ไดแก ความเทาเทียมกัน การใชอํานาจ การมีงานทํา
              และการอนุรักษสิ่งแวดลอม เปนการพัฒนาทรัพยากรมนุษยอยางยั่งยืน

                          สวนประเทศไทยนั้น คําวา ¸ÃÃÁÒÀÔºÒÅ เริ่มไดยินกันมากขึ้นหลังจากประเทศไทย
              ประสบกับภาวะเศรษฐกิจชะงักงันกับวิกฤตการณตมยํากุง ตอมาเมื่อป พ.ศ.๒๕๔๒ โดยคณะรัฐมนตรี

              ไดมีมติเห็นชอบวาระแหงชาติ สําหรับการสรางระบบบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๒ โดยทุก
              ภาคสวนราชการตองถือปฏิบัติและรายงานผลการปฏิบัติตอคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา ตามระเบียบ

              สํานักนายกรัฐมนตรีไดระบุถึง หลักธรรมาภิบาล ๖ หลัก เพื่อเปนกรอบแนวทางใหแกหนวยงานราชการ
              ไดถือปฏิบัติ  ตอมาไดมีการยกเลิกระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีดังกลาวพรอมทั้งออก ¾ÃÐÃÒª¡ÄɮաÒ

              Ç‹Ò´ŒÇÂËÅѡࡳ±áÅСÒúÃÔËÒáԨ¡ÒúŒÒ¹àÁ×ͧ·Õè´Õ ¾.È.òõôö ซึ่งแนวคิดเรื่องการบริหารจัดการ
              บานเมืองที่ดีตามพระราชกฤษฎีกาฯ ไดขยายกรอบแนวคิดจากเดิม เพื่อใหครอบคลุมในเรื่องการบริหารงาน
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28