Page 26 - 06_การปองกนและปราบปรามการทจรต_Neat
P. 26

๑๙




                 ประจํา ประชาชนกับขาราชการ ประชาชนกับนักการเมือง ตางฝายตางตองพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
                 และมีการแลกเปลี่ยนผลประโยชนตางตอบแทนทั้งในดานวัตถุและจิตใจโดยไมคํานึงถึงความถูกตอง

                 ชอบธรรม
                                 ñ.ó ¤‹Ò¹ÔÂÁ¡μÑސ٠ขอดีประการหนึ่งของระบบอุปถัมภคือ การสงเสริมใหเกิด

                 คานิยมของความกตัญูรูคุณคน อันเปนเหตุใหคนที่เคยไดรับการชวยเหลือมีความปรารถนาที่จะตอบแทน
                 คนที่ทําความดีใหกับตน ซึ่งเปนสิ่งที่ดีงามหากกระทําอยางเหมาะสม แตอยางไรก็ตามคานิยมดังกลาว

                 สงผลใหเกิดการสงเสริมการคอรรัปชันขึ้นดวย เชน การละเมิดกฎเกณฑระเบียบของราชการเพื่อชวยเหลือ
                 ผูมีพระคุณ การจําใจตองรับเด็กฝาก เด็กเสน การชวยเหลือผูกระทําผิด เพราะตนเองเคยไดรับ

                 ความชวยเหลือจากผูนั้นมากอน
                             ò. ¤‹Ò¹ÔÂÁã¹Êѧ¤Á¸¹Ò¹ÔÂÁ  สังคมไทยอยูภายใตระบบธนาธิปไตย คือ อธิปไตยที่

                 เกิดจากเงิน หากใครมีเงินจะสามารถเปนใหญได สังคมปจจุบัน กลายเปนสังคมที่ “เห็นเงินเปนใหญ”
                 สังคมวัดฐานะกันที่เงินโดยไมสนใจวาจะไดมาดวยวิธีใดก็ตาม คานิยมดังกลาวสงผลกระทบตอระบบ
                 ราชการอยางใหญหลวง เพราะขาราชการไดรับเงินเดือนนอย การปรับเงินเดือนขาราชการยังไมขานรับ

                 กับดัชนีคาครองชีพ เมื่อบวกกับคานิยมยกยองคุณคาเงินตราของคนในสังคม ยิ่งทําใหขาราชการ
                 เกิดความปรารถนาอยากไดเงินทอง วัตถุประสงค เครื่องอํานวยความสะดวกตางๆ ในชีวิตเพื่อใหเทาเทียม

                 ผูอื่นในสังคม ในขณะที่ชองทางที่เอื้ออํานวยและงายตอการไดมาซึ่งทรัพยสิน คือ การคอรรัปชันนั่นเอง
                 คานิยมในสังคมธนานิยมอันเปนเหตุใหเกิดคอรรัปชัน อาทิ

                                 ò.ñ ¤‹Ò¹ÔÂÁ¡‹ͧà§Ô¹ÁÒ¡¡Ç‹Ò¤ÇÒÁ´ÕáÅФÇÒÁ¶Ù¡μŒÍ§ ปจจุบันเรียกไดวาสังคมไทย
                 เปนสังคมที่ “เงินเปนใหญกวากฎ” เพราะเงินสามารถแลกกับความถูกตองได คานิยมสังคมยกยอง

                 สรรเสริญคนรวยมากกวาคนที่กระทําความดี โดยไมสนใจวาจะไดเงินนั้นดวยวิธีใด สงผลใหคนใน
                 สังคมมุงแสวงหาความมั่งคั่งใหกับตนเองอยางไมจํากัดวิธี เพื่อใหไดเงินที่เร็วที่สุดและงายที่สุด โดยขาด

                 ความตระหนักในจริยธรรมเรื่องความซื่อสัตย เพราะคิดวาคนที่ซื่อสัตยมักจะไมมีเกียรติและยากจน
                 จึงตองกลายเปนผูที่คนในสังคมดูถูกดูแคลน

                                 ò.ò ¤‹Ò¹ÔÂÁ¡‹ͧÇÑμ¶Ø ª×èÍàÊÕ§ à¡ÕÂÃμÔÂÈ ในประวัติศาสตรสังคมไทยมีการแบง
                 ชนชั้นวรรณะอยางชัดเจนในภาคปฏิบัติ คนในสังคมสวนใหญยอมจํานนตอเกียรติที่ไดรับมาจาก

                 ชาติตระกูลและความมั่งคั่ง เมื่อบวกกับกระแสวัตถุนิยมและเสรีนิยมคนไทยสวนใหญจึงแสวงหาผลประโยชน
                 ใหกับตนเองเพื่อยกระดับฐานะของตนใหเทาเทียมกับคนที่มั่งคั่งในสังคม จนกลายเปนความละโมบ

                 และความเห็นแกตัวที่สรางความเสียหายแกสวนรวม โดยสังคมพยายามใหเหตุผลสนับสนุนการกระทํา
                 เชนนี้วาเปนสิ่งที่ถูกตอง เพราะมีคานิยมที่เห็นวา ถาใครสามารถโกงผูอื่นไดมากโดยผูอื่นไมสามารถ
                 ทําอะไรเขาได คนผูนั้นเปนคนที่ฉลาดและสังคมที่มีคนที่ทําเชนนั้นมากจะเปนสังคมที่ฉลาดดวย

                                 ò.ó ¤‹Ò¹ÔÂÁÂÖ´ËÅÑ¡»¯ÔºÑμÔ¹ÔÂÁÁÒ¡¡Ç‹ÒËÅÑ¡¡ÒùÔÂÁ สังคมไทยยึดคานิยมปฏิบัติ

                 นิยมมากกวาหลักการนิยม โดยมีการเห็นวาสิ่งใดที่ทําแลวตนเองไดรับประโยชนมากกวาจะเลือกทํา
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31