Page 27 - 06_การปองกนและปราบปรามการทจรต_Neat
P. 27

๒๐




              สิ่งนั้น สงผลใหการคอรรัปชันเปนสิ่งที่ทําได หากทําแลวตนเองไดประโยชน แมจะทําในสิ่งที่ไมถูกตอง
              หรือทําดวยวิธีการไมถูกตอง หรือทําไมถูกกฎระเบียบก็ตาม คานิยมเชนนี้ทําใหเกิดการละเลยที่จะ

              ตระหนักถึงผลเสียของการคอรรัปชันที่ในที่สุดจะตกแกระบบราชการ ประชาชน และสังคมโดยสวนรวม
                          ó. ¤‹Ò¹ÔÂÁã¹Êѧ¤ÁÃÙŒÃÑ¡ÉÒμÑÇÃʹ໚¹ÂÍ´´Õ สาเหตุของความลมเหลวในการปราบปราม

              การคอรรัปชันประการหนึ่งคือ การที่สังคมยึดคานิยม “รูรักษาตัวรอดเปนยอดดี” หรือการรูจักเอาตัวรอด
              จากสถานการณรายตาง ๆ โดยใชทุกวิถีทางไมขึ้นกับวาทางนั้นถูกตองชอบธรรมหรือไม ขอเพียง

              ทําใหชีวิตตนเองพนภัยหรือไดรับผลประโยชนอื่นๆ ถือเปนทางเลือกที่ฉลาดแลว คานิยมในสังคม
              รูรักษาตัวรอดเปนยอดดีที่เปนสาเหตุใหเกิดการคอรรัปชันทั้งทางตรงและทางออม อาทิ

                             ó.ñ ¤‹Ò¹ÔÂÁࢌÒàÁ×ͧμÒËÅÔèÇμŒÍ§ËÅÔèÇμÒμÒÁ  โดยปกติแลวการวายทวนนํ้ายอมยาก
              ลําบาก และอาจไปไมถึงฝง แตการวายตามนํ้างายสบายและถึงฝงอยางปลอดภัย เชนเดียวกับระบบ

              คอรรัปชันที่ฝงลึกในระบบราชการและระบบการเมือง มักจะเปนเหตุใหขาราชการใหมซึ่งกําลังเปนคนไฟแรง
              มีอุดมการณ มีความมุงมั่นตั้งใจที่จะทํางาน ตองถูกดึงดวยอิทธิพลของระบบกินตามนํ้า คนที่
              วายทวนกระแสไมไหวจะกลายเปน “แกะดํา” ที่คนอื่นไมคบคาดวย จนในที่สุดตองหลุดออกจากระบบไป

              ในขณะเดียวกัน คนอีกจํานวนไมนอยตัดสินใจยอมทําตามระบบเพื่อความอยูรอด ดวยเหตุนี้จึงยังไมมี
              ใครตอตานหรือกวาดลางการคอรรัปชันในระบบใหหมดไปไดตราบเทาที่คานิยม “เขาเมืองตาหลิ่ว

              ตองหลิ่วตาตาม” ยังคงมีอิทธิพลตอขาราชการรุนใหมๆ อยู
                             ó.ò ¤‹Ò¹ÔÂÁÍ‹Òá¡Ç‹§à·ŒÒËÒàÊÕé¹ การคอรรัปชันยังเปนมะเร็งรายเรื้อรัง

              ในระบบราชการและระบบการเมือง สาเหตุประการหนึ่งเนื่องจากไมมีใครกลาเปนพยานโจทก มีการ
              วิเคราะหไววา การนําตัวพยานบุคคลมาขึ้นศาลนั้นเปนการยาก เนื่องจากธรรมเนียมประเพณีของ

              คนไทยนั้นมีคําพังเพยอยูวา “กินขี้หมาดีกวาขึ้นศาล” “คาขี้ดีกวาคาความ” “อยาแกวงเทาหาเสี้ยน” และ
              “บานเมือง ไมใชของเราคนเดียว ใครกินใครโกงก็ชางหัวมัน” หรือหากโจทกพิสูจนไมไดวาจําเลยผิดจริง

              อาจถูกฟองกลับในฐานะหมิ่นประมาทได ทางการจึงไมจับคนผิดมาลงโทษได แมจะมีตัวบทกฎหมาย
              ที่เขมงวดเพียงใดก็ตาม

                             ó.ó ¤‹Ò¹ÔÂÁ»ÃйջÃйÍÁ สังคมไทยมีลักษณะปฏิบัติการนิยมมากกวาอุดมการณ
              นิยม ซึ่งสะทอนออกมาชัดเจน เชน การที่โดยทั่วๆ ไป คนไทยไมชอบการตัดสินปญหาในลักษณะ

              โผงผาง แตกหัก แตจะนิยมการผอนปรนรอมชอมเขาหากันเมื่อมีกรณีขัดแยง ไมวาจะเปนในครอบครัว
              ในที่ทํางาน หรือในระดับประเทศชาติก็ตาม

                          ô. ¤‹Ò¹ÔÂÁã¹Êѧ¤ÁÍíÒ¹Ò¨¹ÔÂÁ ในสมัยอยุธยาอาชีพที่ถือวาเปนเกียรติและศักดิ์ศรี
              มากที่สุด คืออาชีพ “รับราชการ” บุคคลที่เปนขาราชการจะอยูในฐานะผูปกครอง ซึ่งเต็มเปยมไปดวย
              อํานาจ เกียรติยศ บรรดาศักดิ์ ชื่อเสียง ขาทาสบริวาร และมีเสถียรภาพในการดําเนินชีวิต ขาราชการ

              ในอดีต ถืออยูในฐานะเปน “นาย” ของประชาชน เนื่องจากมีฐานะทางสังคมสูงกวาประชาชนตามการ

              กําหนดโดยระบบศักดินา ประชาชนซึ่งเปนชนชั้นผูถูกปกครองตางใหความเคารพยําเกรงขาราชการ
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32