Page 108 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 108

๙๙




                             ๕)  ชวยเหลือประชาชนที่เปนเหยื่ออาชญากรรม รวมทั้งจําเลยที่ถูกดําเนินคดีอาญา
                 โดยมิไดเปนผูกระทําผิดตามกฎหมายวาดวยคาตอบแทนผูเสียหายและคาทดแทนและคาใชจาย

                 แกจําเลยในคดีอาญา
                             ๖)  ติดตามและประเมินผลการดําเนินการดานการคุมครองสิทธิและเสรีภาพ
                             ๗)  ดําเนินการคุมครองพยานตามกฎหมายวาดวยการคุมครองพยานในคดีอาญา

                             ๘)  สงเสริม คุมครองและสรางหลักประกันสิทธิเสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน เชน
                 ประชาชนสามารถปกปองคุมครองสิทธิตนเองและไมละเมิดสิทธิผูอื่น ไดรับการสงเสริมความรูดานสิทธิ

                 และเสรีภาพ ไดรับความชวยเหลือและคุมครองสิทธิและเสรีภาพประชาชน สรางหลักประกันสิทธิและเสรีภาพ
                 และสิทธิมนุษยชนมีความเปนสากล



                 ¡ÃÁ¾Ô¹Ô¨áÅФ،Á¤Ãͧà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹

                             เปนหนวยงาน สังกัดกระทรวงยุติธรรม เมื่อมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญ ๒๕๔๐ ซึ่งมีผล
                 ทําใหสถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน ซึ่งเดิมอยูภายใตการบังคับบัญชาของศาลเยาวชน
                 และครอบครัว มาอยูภายใตสังกัดของกระทรวงยุติธรรม ไดรับการยกฐานะเปนกรมพินิจและคุมครอง

                 เด็กและเยาวชน ปจจุบันสถานพินิจประกอบดวย สถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนกลาง
                 สถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนจังหวัด และสถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนของแผนก

                 คดีเยาวชนและครอบครัวของศาลจังหวัด
                             º·ºÒ·Ë¹ŒÒ·Õè

                             ๑)  สงเสริมการพิทักษคุมครองสิทธิและสวัสดิภาพเด็กและเยาวชน สงเสริมความมั่นคง
                 ของสถาบันครอบครัวและชุมชน โดยใชกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท การหันเหคดีออกจาก

                 กระบวนการยุติธรรม และมาตรการอื่นๆ
                             ๒)  ดําเนินการคดีอาญา คดีครอบครัว กํากับการปกครองและการบําบัดแกไขฟนฟู ปองกัน
                 พัฒนาและสงเคราะห ตลอดจนการติดตามและประเมินผล

                             ๓)  ประสานความรวมมือและสรางเครือขายกับชุมชน องคกรภาครัฐและเอกชน
                 ทั้งภายในและตางประเทศ เพื่อสนับสนุนกระบวนการยุติธรรมสําหรับเด็กและเยาวชน

                             ๔)  ศึกษาวิเคราะหวิจัยและพัฒนากฎหมาย การพิทักษคุมครองสิทธิเด็กและเยาวชน
                 รวมทั้งระบบรูปแบบวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับงานคดี และการปฏิบัติตอเด็กและเยาวชน
                             ๕)  พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการเขาสูมาตรฐานการบริหารจัดการภาครัฐ

                             ๖)  สืบเสาะและพินิจ ตลอดจนทํารายงานเสนอตอศาลเกี่ยวกับประวัติ สิ่งแวดลอม
                 และสาเหตุของการกระทําผิดของเด็กและเยาวชน เพื่อเสนอตอผูอํานวยการสถานพินิจ และสอดสอง

                 เด็กและเยาวชน ที่ศาลมีคําพิพากษาใหคุมประพฤติ หรือกําหนดเงื่อนไขใหปฏิบัติ
                             ๗)  ควบคุมตัวเด็กและเยาวชนไวระหวางการพิจารณาคดีตามคําสั่งศาล

                             ๘)  ศึกษาคนควาถึงสาเหตุของการกระทําความผิดของเด็กและเยาวชน
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113