Page 109 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 109
๑๐๐
¡ÒèѴͧ¤¡Ã¢Í§Ê¶Ò¹¾Ô¹Ô¨
การจัดรูปแบบของสถานพินิจนี้ไมมีรูปแบบที่ตายตัว ซึ่งขึ้นอยูกับปริมาณงานและ
ความรับผิดชอบของสถานพินิจแตละแหง แตที่มีรูปแบบขององคกรที่สมบูรณที่สุด ไดแก สถานพินิจ
และคุมครองเด็กและเยาวชนกลาง ซึ่งตั้งอยูในกรุงเทพมหานคร จะทําหนาที่ดูแลและบริหารงาน
สถานพินิจ ตลอดจนการฝกและอบรมเด็กและเยาวชนตามคําพิพากษา ซึ่งมีสถานฝกและอบรมอยู
๓ แหง ไดแก บานกรุณา บานมุติทา และบานปราณี
¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹áË‹§ªÒμÔ (National Human Rights Commission)
เปนองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ.๒๕๔๐ คณะกรรมการประกอบดวยประธาน
กรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีกสิบคน ซึ่งพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งตามคําแนะนําของวุฒิสภา
จากผูมีความรูหรือประสบการณดานคุมครองสิทธิเสรีภาพประชาชน มีวาระการดํารงตําแหนงหกป
นับแตวันที่พระมหากษัตริยทรงแตงตั้ง และใหดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว ประเทศไทยเขาเปนภาคี
สนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน สหประชาชาติ และตองปฏิบัติตามพันธกรณีระหวางประเทศเกี่ยวกับ
สิทธิมนุษยชน จํานวน ๗ ฉบับ ไดแก อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก การขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรี
สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม การขจัดการเลือกปฏิบัติ
ทางเชื้อชาติ การตอตาน การทรมานและการปฏิบัติหรือการลงโทษที่โหดรายไรมนุษยธรรม หรือยํ่ายี
ศักดิ์ศรี และวาดวยสิทธิของคนพิการ
อํา¹Ò¨Ë¹ŒÒ·Õè
๑) ตรวจสอบ รายงานการกระทําหรือการละเลยการกระทําอันเปนการละเมิดสิทธิ
มนุษยชนตามพันธกรณีระหวางประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเปนภาคี และเสนอมาตรการ
การแกไขที่เหมาะสมตอบุคคลหรือหนวยงานที่กระทํา ในกรณีที่ปรากฏวาไมมีการดําเนินการตามที่
เสนอ ใหรายงานตอรัฐสภาเพื่อดําเนินการตอไป
๒) เสนอแนะนโยบายและขอเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ขอบังคับ ตอรัฐสภา
และคณะรัฐมนตรีเพื่อสงเสริมเผยแพรความรูและคุมครองสิทธิมนุษยชน
๓) สงเสริมความรวมมือและการประสานงานระหวางหนวยราชการ องคกรเอกชน
และองคการอื่นในดานสิทธิมนุษยชน
๔) จัดทํารายงานประจําปเพื่อประเมินสถานการณดานสิทธิมนุษยชนภายในประเทศ
และเสนอตอรัฐสภา