Page 114 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 114

๑๐๕



                                                       º··Õè ÷



                                                      ระบบศาลไทย



                             กฎหมายเปนเครื่องมือของรัฐที่ใชบังคับแกประชาชนเพื่อใหสังคมอยูอยางสงบสุข

                 โดยการลงโทษผูกระทําผิด การที่จะไดตัวผูกระทําผิดมาลงโทษ ตลอดจนการดําเนินการพิพากษาคดี

                 วาผูกระทําผิดจะถูกลงโทษมากนอยเพียงใด นับวาเปนเรื่องยุงยากไมนอย และไมสามารถที่จะกระทํา
                 ไดเพียงคนเดียวจะตองใชบุคลากร และองคการของรัฐเปนผูดําเนินการจํานวนมาก และมีขั้นตอน
                 หลายอยาง ดังนั้นการศึกษาใหรูถึงกระบวนการยุติธรรม จึงเปนเรื่องสําคัญเรื่องหนึ่ง



                                                       ÃкºÈÒÅä·Â





                    ศาลรัฐธรรมนูญ            ศาลยุติธรรม             ศาลทหาร                ศาลปกครอง





                       ศาลฎีกา               ศาลอุทธรณ              ศาลชั้นตน           ศาลปกครองสูงสุด




                                                                      ศาลแพง            ศาลปกครองชั้นตน



                                                                     ศาลอาญา



                                                                      ศาลแขวง



                                                                     ศาลจังหวัด



                                                                  ศาลชํานัญพิเศษ/ศาลพิเศษ




                             พัฒนาการของระบบศาลไทยในปจจุบันมีความเกี่ยวของอยางไมอาจแยกออกจากกันได
                 กับการปฏิรูปครั้งใหญในสมัยรัชกาลที่ ๕ แนนอนวาการปรับปรุงระบบกระบวนการยุติธรรมใหมี

                 ความทันสมัยยอมทําใหตางชาติยอมรับและสามารถอํานวยความยุติธรรมใหแกประชาชนไดอยาง
                 มีสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยปจจุบันไทยใชระบบศาลคู ซึ่งมีศาลปกครองแยกจากศาลยุติธรรม
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119