Page 115 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 115

๑๐๖



              ñ. ÈÒÅä·Âã¹»˜¨¨ØºÑ¹


               ศาลยุติธรรม       -  มีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง เวนแตคดีที่อยูในอํานาจของศาลรัฐธรรมนูญ
                                 ศาลปกครอง ศาลทหาร

               ศาลรัฐธรรมนูญ     -  มีหนาที่วินิจฉัยคดีที่เกี่ยวของกับรัฐธรรมนูญ

               ศาลปกครอง         -  มีหนาที่พิจารณาพิพากษาคดีที่เปนขอพิพาทระหวางทางราชการกับเอกชน
                                 เกี่ยวกับการใชอํานาจปกครอง

               ศาลทหาร           -  มีหนาที่พิจารณาพิพากษาคดีเฉพาะคดีอาญาทหารและคดีที่มีลักษณะพิเศษ
                                 ทางอาญา เชน คดีอาญาที่ทหารตกเปนจําเลย หรือคดีที่เกิดขึ้นในภาวะสงคราม
                                 หรือประกาศกฎอัยการศึก



              ò. ÈÒÅÂØμÔ¸ÃÃÁ

                          บทบาทของศาลยุติธรรมนั้นนอกจากจะทําหนาที่พิจารณาคดีทั้งทางแพงและอาญาแลว

              ปจจุบันยังมีศาลที่ถูกตั้งขึ้นเพื่อทําคดีเฉพาะ ไดแก ศาลภาษีอากร ศาลลมละลาย ศาลทรัพยสิน
              ทางปญญาและการคาระหวางประเทศ ศาลแรงงาน และศาลเยาวชนและครอบครัว อีกทั้งรัฐธรรมนูญ

              ยังไดตั้งแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองในศาลฎีกาเพื่อทําหนาที่พิจารณาคดีการเมือง
              เชน คดีที่นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ถูกกลาวหาวารํ่ารวย

              ผิดปกติ โดยผูพิพากษาศาลฎีกา ๙ คน ซึี่งไดรับเลือกโดยที่ประชุมใหญศาลฎีกา
                          ระบบศาลยุติธรรมของไทยแบงออกเปน ๓ ชั้น (มาตรา ๑ พระธรรมนูญศาลยุติธรรม)

              ไดแก

               ศาลชั้นตน        -  ศาลที่มีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีในชั้นตน ไดแก ศาลแขวง ศาลจังหวัด
                                 ศาลอาญา ศาลแพง ศาลชํานัญพิเศษ


               ศาลอุทธรณ        -  โดยหลักมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีที่อุทธรณคําพิพากษาของศาลชั้นตน

               ศาลฎีกา           -  ศาลสูงสุด มีอํานาจพิจารณาพิพากษาเฉพาะคดีที่ศาลฎีกาอนุญาตใหมีการอุทธรณ
                                 คําพิพากษาของศาลอุทธรณไดเทานั้น มีศาลเดียวตั้งอยูในกรุงเทพมหานคร
                                 -  คําพิพากษาของศาลฎีกาถือวาสิ้นสุด จะฟองรองตอไปอีกไมได สวนการที่ผูไดรับ
                                 โทษทางอาญาถวายเรื่องตอพระมหากษัตริยเพื่อรับพระมหากรุณาธิคุณพระราชทาน
                                 อภัยโทษ เปนพระราชอํานาจของพระมหากษัตริยตามรัฐธรรมนูญ ไมใชการพิพากษาใหม
                                 และไมใชการขัดแยงกับคําพิพากษาของศาลฎีกา
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120