Page 22 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 22

๑๓




                 และรับเอาเขามาโดยทางโรงเรียนสอนกฎหมาย กลาวคือ ไดมีการสงคนไทยไปเรียนกฎหมาย
                 หรือสงนักกฎหมายไปเรียนเพิ่มเติมที่ประเทศอังกฤษ โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อสมเด็จพระบิดาแหง

                 กฎหมายไทย พระเจาบรมวงศเธอฯ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ทรงสําเร็จการศึกษาวิชากฎหมายจาก
                 ประเทศอังกฤษ และไดกลับมาตั้งโรงเรียนสอนกฎหมายในประเทศไทย อิทธิพลของกฎหมายอังกฤษ

                 จึงเขามาสูสังคมไทยในลักษณะนี้
                                 ๒)  มีการจัดทํากฎหมายที่เรียกวา “ประมวลกฎหมาย” โดยเลียนแบบฝรั่งเศส

                 ซึ่งมีสาเหตุมาจากปญหาเรื่องสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ทําใหไทยไดรับความเดือดรอนและไมเปนธรรม
                 ไทยจึงขอยกเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ซึ่งชาติตะวันตกก็ยินยอมโดยดี แตมีเงื่อนไขวาไทยจะตอง

                 ปรับปรุงระบบกฎหมายใหเหมือนอารยประเทศ ไทยจึงตัดสินใจจัดทําประมวลกฎหมาย โดยเลียนแบบ
                 ฝรั่งเศสซึ่งสะดวกที่สุด จึงไดมีการทดลองรางประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยบรรพ ๑-๒ ใน พ.ศ.๒๔๖๖

                               ๓)  มีการจัดทําประมวลกฎหมาย โดยเลียนแบบกฎหมายเยอรมันแทนกฎหมายฝรั่งเศส
                 เพราะขาดผูรางที่มีความเชี่ยวชาญทางกฎหมายฝรั่งเศส พระยามานวราชเสวีไดถวายความคิดเห็น
                 ตอพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๖ วา ควรลอกแบบของประมวลกฎหมายเยอรมัน ซึ่งญี่ปุนนํามาดัดแปลง

                 ไวแลว โดยเราลอกตอจากญี่ปุนอีกทอดหนึ่งจึงจะกระทําไดรวดเร็ว พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
                 จึงโปรดเกลาฯ ใหดําเนินการไปตามนั้น ในที่สุดการรางประมวลกฎหมายเลียนแบบเยอรมันไดสําเร็จ

                 ลุลวงไปดวยดีในระยะเวลาอันรวดเร็ว และมีการประกาศใชประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยในตน
                 รัชกาลที่ ๗ ใน พ.ศ.๒๔๖๘ และไดมีการประกาศใชครบ ๖ บรรพ ใน พ.ศ.๒๔๗๕

                                 แตประมวลกฎหมายฉบับแรกของไทย คือ “กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ.๑๒๗”
                 ซึ่งประกาศใชบังคับมาเปนเวลานานหลายปแลว คือ ตั้งแต พ.ศ. ๒๔๕๑ จนถึง พ.ศ.๒๔๙๙ ทําให

                 บทบัญญัติในบางมาตราอาจจะไมเหมาะสมหรือสอดคลองกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว
                 จึงไดมีการปรับปรุงแกไขประมวลกฎหมายอาญาฉบับใหมใน พ.ศ. ๒๕๐๐ และใชเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27