Page 19 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 19

๑๐




                             “บุคคลใดจะประสบความเสียหายอันพึงเกิดจากโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสรางอยางอื่น
              ของผูอื่น บุคคลผูนั้นชอบที่จะเรียกใหจัดการตามที่จําเปนเพื่อบําบัดปดปองภยันตรายนั้นเสียได”

                             ประเด็นที่เกิดขึ้น คือ นายแดงไมไดกําลังจะประสบความเสียหายจากโรงเรือน
              หรือสิ่งปลูกสราง แตกําลังประสบความเสียหายจากตนไม ยอมไมสามารถใชสิทธิตามมาตรา ๔๓๕ ได
              แตอยางไรก็ตาม สามารถอางมาตรา ๔๓๕ เปนกฎหมายใกลเคียงอยางยิ่งมาพิจารณาและบังคับให
              นายฟาแกไขอันตรายอันเกิดจากตนไมได

                             ò.ó ËÅÑ¡¡®ËÁÒ·ÑèÇä»
                                   หลักกฎหมายทั่วไป เปนบอเกิดกฎหมายที่มิไดบัญญัติขึ้น แตก็มีความสําคัญ

              ตอการอุดชองวางของกฎหมาย ในกรณีที่ไมมีกฎหมายลายลักษณใหนํามาปรับใชกับคดีได หลักกฎหมาย
              ทั่วไปถือเปนหลักเกณฑที่ใหความยุติธรรมตามธรรมชาติ (Natural Justice) ไดแก ความเปนธรรม
              ที่อยูในความรูสึกผิดชอบชั่วดีของมนุษย และความเปนเหตุเปนผล หลักกฎหมายที่ผูพิพากษาคนหา
              มาจากแหลงตาง ๆ อาทิ สุภาษิตกฎหมาย เชน หลัก “ผูรับโอนไมมีสิทธิดีกวาผูโอน” เชน ที่ดินพิพาท

              เปนของนายแดง นายดําไมมีสิทธินําไปจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์แกนายเขียว หากนายเขียวไดที่ดิน
              ไปยอมไมไดกรรมสิทธิ์ เพราะผูรับโอน (นายเขียว) ไมมีสิทธิดีกวาผูโอน (นายดํา) เนื่องจากนายดํา

              ไมมีกรรมสิทธิ์เหนือที่ดิน จึงโอนที่ดินใหผูอื่นไมได หรือศาลอาจ “คนหา” หลักกฎหมายทั่วไป
              ดวยการนํากฎหมายหลาย ๆ มาตราหรือหลาย ๆ ฉบับมาพิจารณา เชน ศาลปกครองเคยคนหา
              หลักกฎหมายทั่วไปจากพระราชบัญญัติและอนุบัญญัติจนสกัดหลักกฎหมายที่วา “กฎหมายจะตอง
              มีความชัดเจนแนนอนและหลักที่วานิติกรรมทางปกครองไมมีผลยอนหลัง” อันเปนหลักประกัน

              ความมั่นคงของนิติสัมพันธระหวางองคกรของรัฐหรือเจาหนาที่ของรัฐฝายปกครองกับประชาชนหรือผูอยู
              ในบังคับของนิติกรรมทางปกครอง (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดคดีหมายเลขแดงที่ อ. ๓๕๕/๒๕๕๑)



                          Ãкº¡®ËÁÒÂ
                          ระบบกฎหมาย (Law System) หมายถึง ลักษณะรวมกันของกฎเกณฑของกฎหมาย
              ตลอดจนกระบวนการพิจารณาคดีซึ่งแตละประเทศจะมีความแตกตางกันออกไป โดยสามารถ

              แบงระบบของกฎหมายในโลกนี้ได ๒ ระบบ คือ
                          ๑.  ระบบกฎหมายลายลักษณอักษร

                          ๒.  ระบบกฎหมายที่ไมเปนลายลักษณอักษร


                          ñ. Ãкº¡®ËÁÒÂÅÒÂÅѡɳÍÑ¡ÉÃ

                             ระบบกฎหมายลายลักษณอักษร (Civil Law) หรือระบบประมวลกฎหมาย ระบบนี้
              มีประวัติความเปนมาจากกฎหมายโรมันที่สําคัญ เชน กฎหมายสิบสองโตะ และกฎหมายของ

              จักรพรรดิจัสติเนียน ระบบกฎหมายลายลักษณอักษรเปนกฎหมายที่ใชในประเทศภาคพื้นยุโรป เชน
              เยอรมัน ฝรั่งเศส อิตาลี สวิตเซอรแลนด เบลเยียม สเปน โปแลนด เปนตน และยังไดแพรหลายเขาสู

              ประเทศแถบลาตินอเมริกา ประเทศในเอเชีย เชน จีน ญี่ปุน ไทย และประเทศในแถบอินโดจีน
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24