Page 18 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 18

๙




                                       องคกรปกครองสวนทองถิ่นในประเทศไทยปจจุบันแบงออก ๕ ประเภท คือ
                 เทศบาล องคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.) องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) กรุงเทพมหานคร และ

                 เมืองพัทยา
                                 การที่รัฐไดมอบอํานาจใหแกทองถิ่นนั้น รัฐธรรมนูญไดรับรองใหองคกรปกครอง
                 สวนทองถิ่นเหลานี้ มีอํานาจในการออกกฎหมายใชบังคับขึ้นเองในพื้นที่รับผิดชอบ หรือเรียกวา “อํานาจ
                 ในการตราขอบังคับ หรือขอบัญญัติ” เปนตน ทั้งนี้เพื่อใหวัตถุประสงคของการกระจายอํานาจสูทองถิ่น

                 และการใหประชาชนของทองถิ่นมีสวนรวมในการบริหารราชการอยางเต็มที่

                             ò. º‹Íà¡Ô´¨Ò¡¡®ËÁÒ·ÕèäÁ‹ä´ŒºÑÞÞÑμÔ¢Öé¹

                                 นอกจากกฎหมายที่ใชบังคับในรูปแบบที่บัญญัติขึ้นเปนลายลักษณอักษรแลวนั้น
                 ศาลอาจนํากฎหมายที่ไมไดบัญญัติเปนลายลักษณอักษรมาบังคับได เชน ในมาตรา ๔ แหงประมวล
                 กฎหมายแพงและพาณิชย กลาวคือ

                                 ๒.๑  หลักกฎหมายจารีตประเพณี
                                 ๒.๒  หลักกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง และ

                                 ๒.๓  หลักกฎหมายทั่วไป


                                 ò.ñ ËÅÑ¡¡®ËÁÒ¨ÒÃÕμ»ÃÐླÕ
                                       หลักกฎหมายจารีตประเพณี หมายถึง กฎหมายตาง ๆ ที่ปรากฏอยูในรูปของ

                 จารีตประเพณี แตมิไดหมายความวาจารีตประเพณีทุกอยางจะเปนกฎหมาย โดยจารีตประเพณีที่เปน
                 กฎหมายตองมีลักษณะสําคัญดังนี้

                                       (๑)  เปนจารีตประเพณีที่ประชาชนในสังคมนั้น ๆ ปฏิบัติกันอยางตอเนื่อง
                 สมํ่าเสมอและยาวนาน
                                       (๒)  เปนจารีตประเพณีที่ประชาชนเห็นวาถูกตองและจะตองปฏิบัติตาม
                 (เชื่อมั่นวาเปนกฎหมาย)

                                       จารีตประเพณีเหลานี้อาจมีความเหมือน หรือตางกันตามแตละทองถิ่น
                 หรือธรรมเนียมปฏิบัติในแตละอาชีพได เชน ธรรมเนียมของพอคาขาว ธรรมเนียมการลงแขกเกี่ยวขาว

                 หรือธรรมเนียมกติกาการแขงขันกีฬา เปนตน
                                 ò.ò ËÅÑ¡¡®ËÁÒÂã¡ÅŒà¤Õ§Í‹ҧÂÔè§
                                       หลักกฎหมายใกลเคียงอยางยิ่ง หมายถึง กรณีที่ไมมีหลักกฎหมายมาบังคับกับ

                 กรณีเหลานั้น และยังไมมีจารีตประเพณีเกี่ยวกับเรืื่องนั้น ๆ มาใช ศาลก็สามารถนํากฎหมายใกลเคียง
                 อยางยิ่งมาพิจารณาก็ได เชน
                                       นายแดงและนายฟา เปนเพื่อนบานกัน ปรากฏวา ตนไมบานนายฟา

                 กําลังจะลมทับบานนายแดง แตยังไมลม นายแดงจึงตองฟองใหนายฟาตัดตนไมเพื่อปองกัน
                 อันตรายนั้น อยางไรก็ตาม ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๔๓๕ บัญญัติวา
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23