Page 85 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 85

๗๖




                          ตํารวจเปนนักกฎหมาย นักปกครอง นักสังคมสงเคราะห นักการทูต นักจิตวิทยา
              และผูนําชุมชนที่มีสวนควบคุมพัฒนาพฤติกรรม อุปนิสัยของประชาชนใหอยูในกรอบระเบียบวินัย

              วัฒนธรรมและศีลธรรมอันดีของชาติ
                          ตํารวจเปนทหารของชาติ ที่จะตองรักษาความสงบภายใน และปกปองอธิปไตย
              ของประเทศ
                          ตํารวจมีฐานะเปนพอแม ญาติ พี่นอง ครูอาจารย และมิตรของประชาชนทั่วไป

                          ¡Ãкǹ¡ÒÃดําà¹Ô¹§Ò¹¢Í§ตําÃǨ กระบวนการดําเนินงานของตํารวจตามประมวล
              กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา อาจสรุปสาระสําคัญและจัดแบงเฉพาะที่สําคัญได ๘ ขั้นตอน ดังนี้

                          ¢Ñé¹μ͹·Õè˹Öè§ การรองทุกขในคดีอาญา เมื่อเกิดอาชญากรรมหรือคดีอาญาขึ้น
                          (๑)  ผูเสียหายที่ไดรับความเสียหายจากการกระทําผิดที่เกิดขึ้น
                          (๒) เจาพนักงาน ผูประสบเหตุ หรือ
                          (๓) ผูเห็นเหตุการณฝายหนึ่ง อาจนําเรื่องไปแจง กลาวโทษ หรือรองทุกขตอตํารวจ

              โดยผูตองหา ซึ่งหมายถึง ผูถูกกลาวหาวากระทําความผิดคดีอาญานั้นๆ อยูอีกฝายหนึ่ง
                          ¢Ñé¹μ͹·ÕèÊͧ ตํารวจทําหนาที่เปนพนักงานสอบสวน โดยรับแจงเหตุแลวทําการสอบสวน

              รวบรวมพยานหลักฐานเปนสํานวนคดี และเพื่อใหตํารวจสามารถดําเนินการได ประมวลกฎหมาย
              วิธีพิจารณาความอาญาไดบัญญัติใหอํานาจตํารวจ (พนักงานสอบสวน) ไวดังนี้
                          ๑)  อํานาจในการสอบสวนและสืบสวนคดีอาญา เพื่อใหทราบตัวผูกระทําความผิด
              และหาพยานหลักฐานเพื่อพิสูจนการกระทําผิด

                          ๒)  ตรวจคนตัวบุคคลและสถานที่ เพื่อหาพยานหลักฐานและจับกุมผูตองหา
                          ๓)  จับกุมผูตองหา เพื่อนํามาดําเนินคดี

                          ๔)  ออกหมายเรียกพยานและผูตองหา มาเพื่อทําการสอบสวนไวเปนพยานหลักฐานในคดี
                          ๕)  ยึดวัตถุพยาน เพื่อเปนพยานหลักฐานในคดี
                          ๖)  ควบคุมตัวผูตองหา เพื่อทําการสอบสวน
                          ๗)  ใหประกันตัวผูตองหาในระหวางการสอบสวน

                          ¢Ñé¹μ͹·ÕèÊÒÁ คดีอาญาที่เลิกกันไดในชั้นตํารวจในฐานะเปนพนักงานสอบสวน ดังนี้
                          ๑)  คดีอาญาที่เปนความผิดตอสวนตัว เชน คดีฉอโกงทรัพย และยักยอกทรัพย

              เมื่อผูเสียหายถอนคํารองทุกข
                          ๒)  คดีที่ตํารวจมีอํานาจเปรียบเทียบปรับ และผูตองหาไดชําระคาปรับตามกําหนดแลว
              เชน คดีความผิดพระราชบัญญัติจราจร เปนตน

                          ¢Ñé¹μ͹·ÕèÊÕè อํานาจการควบคุมผูตองหาในระหวางการสอบสวนของตํารวจ เฉพาะคดี
              ที่มีอัตราโทษที่กฎหมายบัญญัติใหอํานาจตํารวจทําการควบคุมตัวผูตองหาไวในระหวางการสอบสวน
              ไดแยกเปน ๒ กรณี คือ

                          ๑)  คดีที่อยูในอํานาจศาลแขวง ควบคุมตัวผูตองหาได ๔๘ ชั่วโมง
                          ๒)  คดีที่อยูในอํานาจศาลอาญา ควบคุมตัวผูตองหาได ๔๘ ชั่วโมง
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90