Page 86 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 86
๗๗
¢Ñé¹μ͹·ÕèËŒÒ การขอผัดฟอง และฝากขังผูตองหา หลังจากครบอํานาจควบคุมตัวผูตองหาแลว
หากการสอบสวนยังไมเสร็จ ตํารวจตองนําผูตองหาไปขอผัดฟอง หรือฝากขังตอศาลแขวง หรือศาล
อาญา ดังนี้
๑) คดีที่อยูในอํานาจศาลแขวง ผัดฟอง (ในกรณีผูตองหามีประกันตัว) หรือผัดฟองฝากขัง
ในกรณีผูตองหาไมมีประกันตัวไดไมเกิน ๕ ครั้งๆ ละไมเกิน ๖ วัน (พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแขวง
และวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง มาตรา ๗)
๒) คดีที่อยูในอํานาจศาลอาญา
๒.๑ คดีที่มีอัตราโทษจําคุกอยางสูงเกินกวา ๖ เดือน แตไมถึง ๑๐ ป หรือปรับ
เกินกวา ๕๐๐ บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ฝากขังไดหลายครั้งติดๆ กัน แตครั้งหนึ่งตองไมเกิน ๑๒ วัน
และรวมกันทั้งหมดตองไมเกิน ๔๘ วัน (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๘๗)
๒.๒ คดีที่มีอัตราโทษจําคุกอยางสูงตั้งแต ๑๐ ป ขึ้นไป ฝากขังไดหลายครั้งติดๆ กัน
ครั้งหนึ่งตองไมเกิน ๑๒ วัน รวมกันทั้งหมดตองไมเกิน ๘๔ วัน (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา มาตรา ๘๗)
เมื่อศาลอนุญาตใหผัดฟองฝากขัง (คดีศาลแขวง) หรือฝากขัง (คดีอาญา) แลว จะมอบตัว
ผูตองหาใหอยูในอํานาจการควบคุมของศาลซึ่งศาลจะไดมอบใหเจาหนาที่ราชทัณฑนําตัวไปควบคุมไว
ในเรือนจําตอไป
กรณีผูตองหาไดประกันตัวในชั้นสอบสวน ตํารวจไมตองขออํานาจศาลฝากขังแตอยางใด
¢Ñé¹μ͹·ÕèË¡ การสรุปสํานวนของตํารวจ (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๑๔๐-๑๔๓) เมื่อตํารวจรวบรวมพยานหลักฐานเสร็จแลว ก็จะสรุปสํานวนการสอบสวน
มีความเห็นทางคดีได ๓ ทาง ดังนี้
๑) เห็นควรงดการสอบสวน (กรณีไมมีตัวผูตองหา)
๒) เห็นควรสั่งฟองผูตองหา
๓) เห็นควรสั่งไมฟองผูตองหา
¢Ñé¹μ͹·Õèà¨ç´ กรณีตํารวจมีความเห็นควรสั่งฟอง (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๑๔๒) ใหสงสํานวนการสอบสวนพรอมตัวผูตองหาไปยังพนักงานอัยการเพื่อดําเนินการตอไป
สวนการประกันตัวชั้นการควบคุมของอัยการ ผูตองหามีสิทธิจะยื่นคํารองขอประกันตัวตออัยการได
¢Ñé¹μ͹·Õèá»´ กรณีตํารวจมีความเห็นควรสั่งไมฟอง (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา มาตรา ๑๔๒) ใหสงสํานวนการสอบสวนไปยังอัยการเพื่อพิจารณาตอไป สวนตัว
ผูตองหาหากอยูในความควบคุมของตํารวจใหปลอยตัวไป หากอยูในความควบคุมของศาลใหยื่นคํารอง
ขอปลอยตัวผูตองหาตอศาล
ÊÃØ» ตํารวจเปนเจาหนาที่ของรัฐในกระบวนการยุติธรรมที่ใกลชิดประชาชนมากที่สุด
อีกทั้งยังเปนหนวยงานของรัฐและเจาหนาที่ของรัฐที่อยูในกระบวนการยุติธรรมเปนลําดับแรก
อํานาจหนาที่ในการดําเนินงานหรือบริหารงานราชการของตํารวจในสวนที่เกี่ยวของกับคดีอาญา
ที่สําคัญ มี ๘ ขั้นตอน ซึ่งมากเพียงพอที่จะใหความยุติธรรมและอํานวยความยุติธรรมแกประชาชนได