Page 87 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 87

๗๘




                          ò. ÍÑ¡ÒÃ
                             ¤ÇÒÁËÁÒ อัยการ หมายถึง เจาหนาที่ของรัฐที่สังกัดสํานักงานอัยการสูงสุดซึ่งเปน

              “สวนราชการไมสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง” มีฐานะเปนกรมและอยูในบังคับ
              ของรัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม บางครั้งเรียกอัยการวา ทนายแผนดิน อาจกลาวไดวามีหนาที่หลัก
              คือ ตัดสินวาจะสั่งฟองผูตองหาตอศาลหรือไม หลังจากที่ไดรับสรุปสํานวนจากตํารวจแลว อัยการถือวา
              เปนสวนสําคัญสวนหนึ่งในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา

                             อํา¹Ò¨Ë¹ŒÒ·Õè  พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง  ทบวง  กรม  พ.ศ.๒๕๔๕
              (มาตรา ๔๖ (๙)) บัญญัติใหสํานักงานอัยการสูงสุด มีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับการดําเนินคดีอาญาทั้งปวง

              ดําเนินคดีแพง และใหคําปรึกษาดานกฎหมายแกรัฐบาลและหนวยงานของรัฐ และอํานาจหนาที่ตาม
              ที่กําหนดไวในกฎหมาย อํานาจหนาที่ของอัยการ ที่สําคัญมี ๔ ประการ ดังนี้
                             ๒.๑  การอํานวยความยุติธรรม ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เชน
                                   ๑)  ฟองคดีอาญาตอศาลชั้นตน ตลอดจนฟองอุทธรณ ฟองฎีกา และแกฟอง

              อุทธรณ แกฟองฎีกาดวย
                                   ๒)  สั่งใหงดหรือใหทําการสอบสวนตอไป ในคดีที่ไมปรากฏวาผูใดเปนผูกระทําผิด

                                   ๓)  ในกรณีที่พนักงานสอบสวนมีความเห็นควรสั่งไมฟอง และพนักงานอัยการ
              เห็นชอบดวยใหออกคําสั่งไมฟอง และแจงคําสั่งนี้ใหพนักงานสอบสวนทราบ แตถาไมเห็นชอบดวยก็ให
              สั่งฟอง และแจงใหพนักงานสอบสวนสงตัวผูตองหามาเพื่อฟองหรือจัดการอยางหนึ่งอยางใด เพื่อให
              ไดตัวผูตองหามา

                                   ๔)  ในกรณีที่พนักงานสอบสวนมีความเห็นควรสั่งฟองและพนักงานอัยการ
              เห็นชอบดวยใหออกคําสั่งฟองและฟองผูตองหาตอศาล แตถาไมเห็นชอบดวยก็ใหสั่งไมฟอง

              และปลอยตัวผูตองหาไป และแจงคําสั่งใหพนักงานสอบสวนทราบ
                                   ๕)  สั่งใหพนักงานสอบสวนดําเนินการสอบสวนเพิ่มเติมหรือสงพยานคนใด
              มาใหซักถามเพื่อสั่งตอไป
                             ๒.๒  การรักษาผลประโยชนของรัฐ

                                   ๑)  ในคดีแพงหรือคดีปกครอง (ตาม พ.ร.บ.องคกรอัยการและพนักงานอัยการ
              พ.ศ.๒๕๕๓ ม.๑๔)

                                       ๑.๑)  ในคดีแพงหรือคดีปกครอง มีอํานาจและหนาที่ดําเนินคดีแทนรัฐบาล
              หนวยงานของรัฐที่เปนองคกรตามรัฐธรรมนูญ ราชการสวนกลาง หรือราชการสวนภูมิภาคในศาล
              หรือในกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการทั้งปวง กับมีอํานาจและหนาที่ตามกฎหมายอื่น ซึ่งบัญญัติ

              วาเปนอํานาจและหนาที่ของสํานักงานอัยการสูงสุดหรือพนักงานอัยการ
                                       ๑.๒)  ในคดีแพง คดีปกครอง หรือคดีอาญา ซึ่งเจาหนาที่ของรัฐถูกฟอง
              ในเรื่องการที่ไดกระทําไปตามหนาที่ก็ดี หรือในคดีแพงหรือคดีอาญาที่ราษฎรผูหนึ่งผูใดถูกฟอง ในเรื่องการ

              ที่ไดกระทําตามคําสั่งของเจาหนาที่ของรัฐซึ่งไดสั่งการโดยชอบดวยกฎหมาย หรือเขารวม หรือชวยเหลือ
              เจาหนาที่ของรัฐซึ่งกระทําการในหนาที่ราชการก็ดี เมื่อเห็นสมควรพนักงานอัยการจะรับแกตางใหก็ได
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92