Page 88 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 88

๗๙




                                          ๑.๓)  ในคดีแพง คดีปกครอง หรือกรณีมีขอพิพาทที่ตองดําเนินการทาง
                 อนุญาโตตุลาการ

                                          ๑.๔)  ผูดํารงตําแหนงทางการเมืองผูใดมีทรัพยสินเพิ่มขึ้นผิดปกติใหประธาน
                 กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ สงเอกสารทั้งหมดพรอมทั้งรายงานการตรวจสอบ
                 ไปยังอัยการสูงสุด เพื่อดําเนินงานคดีในศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง
                 เพื่อใหทรัพยสินที่เพิ่มขึ้นผิดปกตินั้นตกเปนของแผนดิน (พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกัน

                 และปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๕๔ มาตรา ๓๘)
                                      ๒)  เปนที่ปรึกษากฎหมายของรัฐโดยใหคําปรึกษาหรือความเห็นทางกฎหมาย

                 หรือตรวจรางสัญญาตางๆ กอนลงนาม
                                 ๒.๓  การคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน อัยการมีอํานาจหนาที่ดําเนินการ
                 คุมครองสิทธิและเสรีภาพตามที่กฎหมายบัญญัติไว เชน ยื่นคํารองขอใหศาลออกหมายปลอยผูตองหา
                 (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๗๒ (๒)) ยื่นคํารองขอใหศาลปลอยบุคคลที่ถูก

                 คุมขังโดยมิชอบดวยกฎหมายหรือถูกจําคุกผิดจากคําพิพากษาของศาล (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
                 ความอาญา มาตรา ๙๐(๒))

                                 ๒.๔  อํานาจหนาที่อื่นๆ ตามที่กฎหมายบัญญัติไว เชน
                                      ๑)  อัยการสูงสุดเปนผูตรวจสอบขอเท็จจริงและยื่นคํารองใหศาลรัฐธรรมนูญ
                 วินิจฉัยสั่งการใหบุคคลหรือพรรคการเมืองใดเลิกการกระทําเพื่อลมลางการปกครองระบอบประชาธิปไตย
                 อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข หรือเพื่อใหไดมาซึ่งอํานาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการ

                 ซึ่งมิไดเปนไปตามวิถีทางที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ (พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยพรรคการเมือง
                 พ.ศ.๒๕๖๐ ม.๙๕)

                             ¡Ãкǹ¡ÒÃดําà¹Ô¹§Ò¹¢Í§ÍÑ¡Òà กระบวนการดําเนินงานของอัยการในการดําเนิน
                 คดีอาญาเพื่ออํานวยความยุติธรรม เปนไปตามพระราชบัญญัติองคกรอัยการและพนักงานอัยการ

                 พ.ศ.๒๕๕๓ ม.๑๔ และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเปนหลัก ที่สําคัญมี ๒ ขั้นตอน ดังนี้
                             ¢Ñé¹μ͹·Õè˹Öè§  การสั่งคดี  ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา  ม.๑๔๔

                 เมื่อตํารวจหรือพนักงานสอบสวนไดสงสํานวนการสอบสวนมายังอัยการหรือพนักงานอัยการ
                 พรอมทั้งความเห็นสั่งไมฟอง หรือสั่งฟอง หรืออยางอื่น (เชน งดการสอบสวน) พนักงานอัยการ

                 ตองพิจารณาสํานวนสอบสวนดังกลาว รวมทั้งพิจารณาคดีและผลของการดําเนินคดีในศาลทั้งใน

                 ขอเท็จจริงและในขอกฎหมายและออกคําสั่งอยางใดอยางหนึ่งตอคดี เชน สั่งไมฟอง หรือสั่งฟอง
                 ทั้งนี้ การสั่งคดีของอัยการตองเปนไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ตัวอยางเชน
                 กรณีไมปรากฏตัวผูกระทําความผิด อัยการอาจพิจารณาวา ควรงดการสอบสวนหรือไม หรือกรณี

                 ปรากฏผูกระทําความผิดและผูนั้นถูกควบคุมตัวอยู หรือปลอยตัวชั่วคราว หรือเชื่อวาคงจะไดตัวมา

                 เมื่อออกหมายเรียก เชนนี้อัยการอาจพิจารณาแลวมีความเห็นสั่งไมฟอง หรือสั่งฟองก็ได เหลานี้เปนตน
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93