Page 93 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 93

๘๔




              หรือพนักงานอัยการ อาจรองขอใหมีการรื้อฟนคดีขึ้นพิจารณาใหมได และหากปรากฏตามคําพิพากษา
              ของศาลที่รื้อฟนคดีขึ้นพิจารณาใหมวา บุคคลนั้นมิไดเปนผูกระทําความผิด บุคคลนั้นหรือทายาท

              ยอมมีสิทธิไดรับคาทดแทนและคาใชจายตามสมควร ตลอดจนบรรดาสิทธิที่เสียไปเพราะผลแหง
              คําพิพากษานั้นคืน ทั้งนี้ ตามเงื่อนไขและวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญเชนนี้

              เปนการใหสิทธิบุคคลขอใหมีการรื้อฟนคดีอาญาขึ้นพิจารณาใหมได อันเปนหลักประกันวา ประชาชน
              จะไดรับความยุติธรรมจากรัฐอยางเต็มที่

                             ÊÃØ» รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยกําหนดใหศาลมีอํานาจพิจารณาพิพากษา
              อรรถคดี  ซึ่งศาลตองดําเนินการตามรัฐธรรมนูญ  ตามกฎหมายและในพระปรมาภิไธยของ

              พระมหากษัตริย กระบวนการดําเนินงานของศาลที่สําคัญมี ๗ ขั้นตอน ซึ่งถือวาเปนการบริหารงานราชการ
              ที่เปนสวนหนึ่งของกระบวนการยุติธรรม



                          ô. ¤ØÁ»ÃоÄμÔ

                             ¤ÇÒÁËÁÒ การคุมประพฤติ (probation) เปนมาตรการหนึ่งของกรมคุมประพฤติ

              กระทรวงยุติธรรมที่ใชในการปฏิบัติตอผูกระทําผิดที่เปนผูใหญในชุมชน โดยยึดหลักอาชญาวิทยา
              และทัณฑวิทยาแนวใหม ซึ่งเนนการปฏิบัติตอผูกระทําผิดเปนรายบุคคล นอกจากนี้ ยังเปนการเปลี่ยน
              แนวคิดจากวิธีการลงโทษมาเปนวิธีการแกไขบําบัด พรอมกับเปลี่ยนแนวคิดจากการลงโทษจําคุก

              เปนวิธีการเลี่ยงการจําคุก โดยเฉพาะอยางยิ่ง การใหชุมชนเขามามีสวนรวมและรับผิดชอบในการปองกัน

              อาชญากรรมและการแกไขฟนฟูผูกระทําผิด
                             การคุมประพฤติจึงเปนการบริหารงานที่สําคัญในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา

              โดยครอบคลุมทั้งในขั้นตอนกอนและหลังการพิพากษาคดีของศาล มีพนักงานคุมประพฤติเปนผูดําเนินการ
              ขั้นตอนกอนคําพิพากษาของศาลนั้น เรียกวา ¡ÒÃÊ׺àÊÒÐáÅоԹԨ (presentence investigation)

              สวนขั้นตอนหลังคําพิพากษาคดีของศาล เรียกวา ¡ÒäǺ¤ØÁáÅÐÊʹʋͧ (supervision) ซึ่งพนักงาน
              คุมประพฤติจะทําหนาที่ใหคําแนะนํา ชวยเหลือผูกระทําความผิดนั้นๆ พรอมกับนําทรัพยากรในชุมชน

              เขามาชวยเหลือเรียกวา ¡Ô¨¡ÃÃÁªØÁª¹ (community affairs) ทั้งนี้เพื่อมุงหวังใหจําเลยไดกลับตัวเปน
              พลเมืองดีและกลับคืนสูชุมชนอยางมีคุณคาตลอดไป

                             ¾¹Ñ¡§Ò¹¤ØÁ»ÃоÄμÔ พระราชบัญญัติวิธีดําเนินการคุมความประพฤติตามประมวล
              กฎหมายอาญา พ.ศ.๒๕๒๒ ไดกําหนดใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม หรือโดยผูที่รัฐมนตรีวาการ

              กระทรวงยุติธรรมมอบหมายเปนผูมีอํานาจแตงตั้งพนักงานคุมประพฤติ พระราชบัญญัติดังกลาว
              ยังกําหนดอํานาจหนาที่ของพนักงานคุมประพฤติซึ่งสรุปได ๓ ประการ ไวดวย คือ

                             หนึ่ง อํานาจหนาที่เกี่ยวกับการสืบเสาะและพินิจจําเลย
                             สอง อํานาจหนาที่เกี่ยวกับการควบคุมสอดสองหรือคุมความประพฤติจําเลย และ
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98