Page 97 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 97

๘๘




                             ภายหลังจากศาลมีคําพิพากษาใหจําคุกจําเลย เจาพนักงานราชทัณฑหรือผูคุมมีหนาที่
              รับตัวจําเลย ผูตองโทษไปควบคุมไวในเรือนจําหรือทัณฑสถานตางๆ โดยคําพิพากษาของศาลอาจเปน

              โทษหนักไปหาโทษเบา ตามประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา ๑๘) คือ (๑) ประหารชีวิต (๒) จําคุก
              (๓) กักขัง (๔) ปรับ และ (๕) ริบทรัพยสิน

                             เมื่อศาลมีคําพิพากษาใหลงโทษประหารชีวิต จําคุก หรือกักขังจําเลย เทานั้นที่เปน
              อํานาจหนาที่ของกรมราชทัณฑที่จะลงโทษจําเลย โดย

                             ๑)  กรณีพิพากษาใหลงโทษประหารชีวิตจําเลย กฎหมายบัญญัติใหฉีดยา (พิษ)
              เสียใหตาย กรมราชทัณฑจะประหารชีวิตจําเลยโดยวิธีอื่น เชน ยิงใหตายไมได

                             ๒)  กรณีพิพากษาใหลงโทษจําคุก ไมวาจําคุกนอยไปจนถึงตลอดชีวิต เปนอํานาจ
              หนาที่ของเรือนจําและทัณฑสถานตางๆ เชน เรือนจํากลาง เรือนจําจังหวัด ทัณฑสถานวัยหนุม

              และทัณฑสถานหญิง เปนตน โดยมีหนวยงานอื่น เชน สํานักทัณฑวิทยา สํานักพัฒนาพฤตินิสัย
              และสํานักทัณฑปฏิบัติของกรมราชทัณฑ ใหความชวยเหลือในการควบคุมตัว และในการแกไขฟนฟู

              ผูตองโทษ

                             ๓)  กรณีพิพากษาลงโทษใหกักขัง กฎหมายกําหนดใหกักขังในสถานที่กักขังของ
              กรมราชทัณฑ เชน สถานกักขังกลางจังหวัดปทุมธานี และสถานกักขังจังหวัดตราด จะกักขังใน
              สถานที่อื่นไมได

                             ๔)  กรณีพิพากษาลงโทษปรับและริบทรัพยสินนั้น ไมเกี่ยวของกับกรมราชทัณฑ ยกเวน

              กรณีกักขังแทนคาปรับ เนื่องจากผูตองโทษปรับไมสามารถชําระคาปรับ และศาลไมอนุญาตใหทํางาน
              บริการสังคมแทนคาปรับ ผูตองโทษปรับในกรณีเชนนี้ก็ตองถูกกักขังในสถานกักขังของกรมราชทัณฑ

              ในอัตราคาปรับ ๒๐๐ บาทตอการกักขัง ๑ วัน สําหรับการกักกัน นักโทษที่ทําผิดติดนิสัยจะถูกสงตัว
              ไปควบคุมในสถานกักกันกลาง หลังจากพนโทษจําคุกมาแลว ตามระยะเวลาที่กําหนดในคําพิพากษา

                             ÊÃØ» กรมราชทัณฑสังกัดกระทรวงยุติธรรม อํานาจหนาที่ของกรมราชทัณฑที่สําคัญ
              มี ๕ ประการ สวนกระบวนการดําเนินงานเพื่อปฏิบัติตามคําพิพากษาของศาลหรือการบังคับคดี

              โดยกรมราชทัณฑ มี ๗ ขั้นตอน
                             ทายสุดนี้ พอที่จะสรุปกระบวนการยุติธรรมทางอาญาที่ผานมาทั้งหมดนี้ไดวา

              ประกอบดวย ๔ หนวยงาน และ/หรือ บุคลากรของหนวยงานที่สําคัญ อันไดแก ตําÃǨ เปนผูดําเนินการ
              ใหเปนไปตามกฎหมายชั้นตน เพื่อปองกันปราบปราม แสวงหาตัวผูกระทําความผิดมาลงโทษและบังคับ

              ใชกฎหมายของตํารวจ เชน การคน การจับกุม การยึดหรืออายัด โดยตํารวจทําหนาที่เปนพนักงาน
              สอบสวน สวนÍÑ¡Òà เปนผูมีอํานาจหนาที่ในการออกคําสั่งใดๆ ทางกฎหมาย อันมีผลในทางคดี

              โดยพิจารณากลั่นกรองบรรดาพยานหลักฐานที่ตํารวจรวบรวมและเสนอความเห็นมาให แลววินิจฉัยวา
              ควรฟองผูตองหาตอศาลเพื่อพิสูจนความผิดในศาล และลงโทษตามกฎหมายหรือไม จากนั้น อัยการ

              จะออกคําสั่งที่มีผลในทางกฎหมาย เชน มีการสั่งฟองหรือสั่งไมฟองตอไป ในสวนของÈÒÅ เปนผูพิจารณา
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102