Page 98 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 98

๘๙




                 และพิพากษาวา ผูถูกกลาวหาไดกระทําความผิดหรือมิไดกระทําความผิดตามคําฟอง ขณะที่¤ØÁ»ÃоÄμÔ
                 ËÃ×Í਌Ҿ¹Ñ¡§Ò¹¤ØÁ»ÃоÄμÔเปนผูดําเนินการตามขั้นตอนกอนและหลังจากที่ศาลพิพากษาคดีแลว

                 ขั้นตอนทายสุด คือ ÃÒª·Ñ³±ËÃ×Í਌Ò˹ŒÒ·ÕèÃÒª·Ñ³± เปนผูดําเนินการหลังจากศาลพิพากษาคดีแลว
                 เชน การรับตัวจําเลยผูตองโทษ และการปฏิบัติตอผูตองโทษ ทั้งหมดนี้เกี่ยวของกับการบริหาร

                 ราชการไทย โดยแตละสวนเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารงานยุติธรรม โปรดดูตารางที่ ๑



                 μÒÃÒ§·Õè ñ  กระบวนการดําเนินงานที่สําคัญของหนวยงานของรัฐ และ/หรือ เจาหนาที่ของรัฐ
                             ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา จําแนกตาม ตํารวจ อัยการ ศาล คุมประพฤติ และ

                             ราชทัณฑ


                       องคกร               สังกัด                    กระบวนการดําเนินงานที่สําคัญ

                  ñ. ตําÃǨ        สํานักงานตํารวจแหงชาติ ๑.๑  การรองทุกขในคดีอาญา

                   (๘ ขั้นตอน)                              ๑.๒  ตํารวจทําหนาที่เปนพนักงานสอบสวน
                                                            ๑.๓  คดีอาญาที่เลิกกันไดในชั้นตํารวจ

                                                            ๑.๔  อํานาจการควบคุมผูตองหา
                                                            ๑.๕  การขอผัดฟอง ฝากขังผูตองหา

                                                            ๑.๖  การสรุปสํานวน
                                                            ๑.๗  กรณีตํารวจมีความเห็นควรสั่งฟอง

                                                            ๑.๘ กรณีตํารวจมีความเห็นควรสั่งไมฟอง

                  ò. ÍÑ¡Òà        สํานักงานอัยการสูงสุด    ๒.๑  การสั่งคดี

                   (๒ ขั้นตอน)                              ๒.๒ การดําเนินคดีอาญาในศาล


                  ๓.  ศาล          ศาลยุติธรรม              ๓.๑  การไตสวนมูลฟอง
                   (๗ ขั้นตอน)                              ๓.๒ การพิจารณาคดีอาญา
                                                            ๓.๓ การขอใหศาลรอการลงโทษจําคุก

                                                            ๓.๔ การพิพากษาคดีอาญา

                                                            ๓.๕ การอุทธรณฎีกา
                                                            ๓.๖ การอภัยโทษ
                                                            ๓.๗ การรื้อฟนคดีอาญาขึ้นพิจารณาใหม
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103