Page 100 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 100

๙๑



                 ¡ÃÁÊͺÊǹ¤´Õ¾ÔàÈÉ

                             กรมสอบสวนคดีพิเศษ สังกัดกระทรวงยุติธรรม สืบเนื่องจากสถานการณของโลกมีการ
                 เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว สงผลกระทบตอระบบเทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม

                 สิ่งแวดลอม ทําใหเกิดปญหาอาชญากรรมในสังคมที่ไดทวีความรุนแรง มีความสลับซับซอนของการ
                 กระทําความผิดขึ้นตามมาเปนลําดับ เชน อาชญากรรมเศรษฐกิจ คอมพิวเตอร ฯลฯ มีการพัฒนา

                 รูปแบบวิธีการของการกระทําความผิดอยางตอเนื่องและตลอดเวลา ทั้งในดานกรรมวิธีการกระทํา
                 ความผิด การนําเทคนิควิธีการสมัยใหมเขามาเปนเครื่องมือประกอบการกระทําความผิด ลักษณะ

                 การกระทําความผิดที่มีการดําเนินการอยางเปนระบบและขบวนการ มีความเกี่ยวเนื่องและมีเครือขายโยงใย
                 ระหวางประเทศ ผูกระทําผิดเปนผูที่มีความรู ความชํานาญ และความเชี่ยวชาญในดานนั้นๆ เปนอยางดี

                 ฯลฯ สรางความเสียหายโดยตรงตอระบบเศรษฐกิจ การเงิน การคลังของประเทศนับหมื่นลานบาทตอป
                 กอใหเกิดผลกระทบอยางรุนแรงตอความมั่นคงของประเทศอยางมากมาย ประกอบกับการสืบสวน

                 สอบสวนหรือจับกุมตัวผูกระทําผิดมีความยากลําบากมาก จึงตองมีการจัดตั้งกรมสอบสวนคดีพิเศษ
                 ขึ้นโดยอยูภายใตสังกัดกระทรวงยุติธรรม ใชชื่อภาษาอังกฤษวา “DEPARTMENT OF SPECIAL

                 INVESTIGATION” มีชื่อยอวา “DSI” (http://www.dsi.go.th)

                                 º·ºÒ·áÅÐ˹ŒÒ·Õè
                                 ๑)  ดําเนินการปองกันและปราบปราม และควบคุมอาชญากรรมพิเศษ
                                 ๒)  พัฒนาระบบ รูปแบบ วิธีการ และมาตรการในการปองกันปราบปรามและควบคุม

                 อาชญากรรม

                                 ๓)  ประสานความรวมมือในการปองกันปราบปราม และควบคุมอาชญากรรมพิเศษ
                 จากหนวยงานภาครัฐ และภาคประชาชนทั้งภายในและตางประเทศ
                                 ÅѡɳÐÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ¾ÔàÈÉ

                                 ๑)  อาชญากรรมทางเศรษฐกิจที่กระทําตอระบบการเงิน การธนาคาร การคา

                 การพาณิชย การหลีกเลี่ยงภาษีอากร การละเมิดทรัพยสินทางปญญา และการทําลายสิ่งแวดลอม
                 และทรัพยากรธรรมชาติ

                                 ๒)  อาชญากรรมคอมพิวเตอรหรืออาชญากรรมดานเทคโนโลยีสารสนเทศที่กระทําการ
                 ลักลอบ แกไข เปลี่ยนแปลงหรือทําลายขอมูลระบบปฏิบัติการของหนวยงานตางๆ

                                 ๓)  อาชญากรรมที่มีอิทธิพลเขามาเกี่ยวของ ในรูปแบบองคกรอาชญากรรม
                 และอาชญากรรมขามชาติ เปนการกระทําผิดที่มีการดําเนินการอยางเปนระบบ เปนองคกร มีเครือขาย

                 ทั้งภายในและระหวางประเทศ รวมทั้งผูกระทําผิดมักไดแก ผูมีอิทธิพลหรือผูมีอิทธิพลใหการสนับสนุน
                 อยูเบื้องหลัง เชน ขบวนการคาโสเภณีขามชาติ ขบวนการคามนุษย และการคายาเสพติด เปนตน
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105