Page 99 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 99
๙๐
องคกร สังกัด กระบวนการดําเนินงานที่สําคัญ
๔. คุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม ๔.๑ การรวบรวมขอมูลเบื้องตน
(๕ ขั้นตอน) ๔.๒ การสอบปากคําผูถูกคุมความประพฤติ
๔.๓ การรับรายงานตัว
๔.๔ การออกไปสอดสอง
๔.๕ การรายงานผลการคุมความประพฤติ
๕. ราชทัณฑ กระทรวงยุติธรรม ๕.๑ การรับตัวจําเลยผูตองโทษ
(๗ ขั้นตอน) ๕.๒ การใหสวัสดิการแกผูตองโทษ
๕.๓ การรักษาระเบียบวินัย
๕.๔ การใหการศึกษาวิชาสามัญและการฝกวิชาชีพ
๕.๕ การใหทํางานโดยใชแรงงานผูตองโทษ
๕.๖ การฝกอบรมจิตใจ
๕.๗ การปลอยตัว
ͧ¤¡ÃÍ×è¹æ ·ÕèÁÕº·ºÒ·áÅÐ˹ŒÒ·Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Ñº¡Ãкǹ¡ÒÃÂØμÔ¸ÃÃÁ
องคกรในกระบวนการยุติธรรมที่มีบทบาทและหนาที่เกี่ยวของกับกระบวนการยุติธรรม
ดังนี้
๑. กรมสอบสวนคดีพิเศษ
๒. สํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ป.ป.ง.)
๓. สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.)
๔. สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (ป.ป.ช.)
๕. สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (ป.ป.ท.)
๖. สถาบันนิติวิทยาศาสตร
๗. กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ
๘. กรมพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน
๙. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
๑๐. กรมทรัพยสินทางปญญา
๑๑. กรมศุลกากร
๑๒. กรมสรรพสามิต