Page 92 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 92

๘๓




                                 ¢Ñé¹μ͹·ÕèËŒÒ การอุทธรณฎีกา เมื่อศาลชั้นตนมีคําพิพากษาหรือคําสั่งแลวคูความ
                 ไมพอใจคําพิพากษานั้น คูความอาจยื่นอุทธรณคําพิพากษาของศาลชั้นตนตอศาลอุทธรณภายใน

                 กําหนดอายุความอุทธรณคือ ๓๐ วัน นับแตวันที่ศาลชั้นตนมีคําพิพากษาหรือคําสั่ง ยกเวนแตวาคดีนั้น
                 ตองหามอุทธรณ เมื่อศาลอุทธรณมีคําพิพากษาหรือคําสั่ง เชน ยืนตามคําพิพากษาของศาลชั้นตน

                 กลับหรือแกคําพิพากษาของศาลชั้นตน คูความไมพอใจหรือติดใจในคําพิพากษา หรือคําสั่งนั้น ก็อาจ
                 ยื่นฎีกาตอศาลฎีกากอนพนกําหนดอายุความฎีกา คือ ๓๐ วัน นับแตวันที่อานคําพิพากษาหรือคําสั่ง

                 ของศาลอุทธรณ ยกเวนแตวาคดีนั้นหามฎีกา ตัวอยางการหามอุทธรณฎีกาตามที่กฎหมายกําหนด เชน
                                 ๑)  คดีอัตราโทษจําคุกไมเกิน ๓ ป หรือปรับไมเกิน ๖๐,๐๐๐ บาท ตองหามมิให

                 อุทธรณปญหาขอเท็จจริง เวนแตศาลลงโทษจําคุกกักขัง รอการลงโทษ รอการกําหนดโทษ หรือปรับ
                 เกินกวา ๑,๐๐๐ บาท จําเลยจึงจะอุทธรณได

                                 ๒)  คดีที่ศาลอุทธรณพิพากษาลงโทษจําคุกไมเกิน ๕ ป ยืนตามศาลชั้นตน หรือแกไข
                 เล็กนอยหามมิใหคูความฎีกาในปญหาขอเท็จจริง ทั้งนี้ คูความอีกฝายมีสิทธิแกอุทธรณฎีกาภายใน

                 ๑๕ วัน นับแตวันที่ไดรับสําเนาคําพิพากษาของศาลฎีกาถือเปนที่สิ้นสุดของกระบวนการยุติธรรมในสวน

                 ที่เกี่ยวกับศาล และจะตองมีการบังคับคดีตามคําพิพากษานั้นๆ เวนแตจะมีการอภัยโทษ สําหรับศาล
                 ที่รับเรื่องคําฟอง อุทธรณฎีกา และอานคําพิพากษาของศาลอุทธรณและศาลฎีกา ไดแก ศาลชั้นตน
                 ที่ชําระคดีนั้น

                                 ¢Ñé¹μ͹·ÕèË¡ การอภัยโทษ ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยและประมวล

                 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา การพระราชทานอภัยโทษเปนอํานาจของพระมหากษัตริย เมื่อจําเลย
                 ถูกศาลพิพากษาถึงที่สุดใหลงโทษจําเลย จําเลยหรือผูมีสวนไดเสียอาจยื่นขอพระราชทานอภัยโทษ

                 ไดใน ๒ กรณี
                                 ñ) ¡Ã³Õâ·É»ÃÐËÒêÕÇÔμ เมื่อศาลพิพากษาใหลงโทษประหารชีวิตและคดีถึงที่สุดแลว

                 รัฐยังลงโทษประหารชีวิตจําเลยไมได ตองใหโอกาสจําเลยทูลเกลาฯ ขอพระราชทานอภัยโทษ
                 เมื่อพน ๖๐ วัน นับแตวันยื่นขอพระราชทานอภัยโทษแลว ไมไดโปรดเกลาฯ แตประการใด หรือ

                 ยกคําขอพระราชทานอภัยโทษ ใหลงโทษประหารชีวิตจําเลยคนนั้น หรือถาพระราชทานอภัยโทษดวย
                 การลดโทษเปนโทษจําคุกตลอดชีวิต ใหกรมราชทัณฑรับไปดําเนินการตามนั้น การยื่นขอพระราชทาน

                 อภัยโทษเดิมตองยื่นผานรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย แตทุกวันนี้กรมราชทัณฑไดยายมาอยูใน
                 สังกัดของกระทรวงยุติธรรม จึงนาจะยื่นตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงนี้

                              ò) ¡Ã³Õâ·ÉÍ×è¹æ เชน โทษจําคุกหรือปรับ โดยตองยื่นผานรัฐมนตรีวาการกระทรวง
                 ยุติธรรม การขอพระราชทานอภัยโทษในกรณีนี้ถาถูกยกหนหนึ่งแลว ก็อาจยื่นขอใหมไดอีก เมื่อพน

                 กําหนด ๒ ปนับแตวันที่ถูกยกครั้งกอน
                                 ¢Ñé¹μ͹·Õèà¨ç´ การรื้อฟนคดีอาญาขึ้นพิจารณาใหม รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

                 ไดบัญญัติไววา บุคคลใดตองรับโทษอาญาโดยคําพิพากษาอันถึงที่สุด บุคคลนั้น ผูมีสวนไดเสีย
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97