Page 91 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 91

๘๒




                                 ๑.๓)  การพิจารณาและสืบพยานตองทําตอหนาจําเลย แตมีขอยกเวน ๓ ขอ
              คือ กรณีที่คดีมีอัตราโทษจําคุกอยางสูงไมเกิน ๑๐ ป กรณีจําเลยขัดขวางการพิจารณาคดีและสืบพยาน

              กรณีเดินเผชิญสืบนอกศาล
                           ò) ͧ¤¤³Ð¾Ô¨ÒóҾԾҡÉÒ¤´Õ ในการพิจารณาคดีและการสืบพยาน รวมทั้ง

              การพิพากษาคดี ศาลตองนั่งครบองคคณะ เชน องคคณะ ๒ คน ก็ตองนั่งครบทั้ง ๒ คน
                             ¢Ñé¹μ͹·ÕèÊÒÁ การขอใหศาลรอการลงโทษจําคุก (ประมวลกฎหมายอาญา ม.๕๖)

              ในคดีที่จําเลยรับสารภาพวาไดกระทําผิดจริงตามฟองและเปนคดีไมรายแรงซึ่งศาลจะลงโทษจําคุก
              ไมเกิน ๓ ป จําเลยอาจยื่นคําแถลงประกอบคํารับสารภาพขอใหศาลรอการลงโทษจําคุกเพื่อใหโอกาส

              จําเลยกลับตัวเปนคนดีได โดยควรแนบหลักฐานตางๆ เกี่ยวกับอายุ ประวัติ ความประพฤติ การศึกษา
              อบรม สุขภาพ ภาวะแหงจิต นิสัย อาชีพ สิ่งแวดลอม สภาพความผิด หรือเหตุอื่นอันควรปราณีดวย

              เชน บันทึกการตกลงชดใชคาเสียหายเพื่อบรรเทาผลราย สําเนาทะเบียนบาน หรือสูติบัตรซึ่งแสดงวา
              มีบุตรตองอยูในความอุปการะเลี้ยงดู เปนตน แตทั้งนี้ศาลอาจลงโทษจําคุกและปรับ แตรอการลงโทษ

              จําคุกไวโดยกําหนดเงื่อนไขคุมความประพฤติดวยการใหจําเลยไปรายงานตัวหรือทํากิจกรรมบริการ

              สังคมหรือสาธารณประโยชนดวยหรือไมเพียงใดก็ได และจําเลยตองปฏิบัติตามเงื่อนไขนั้นโดยเครงครัด
              หากมิฉะนั้นแลวศาลอาจนําโทษจําคุกที่รอไวนั้นมาลงแกจําเลยได การขอใหศาลรอการลงโทษจําคุกนี้
              เกี่ยวของกับการคุมประพฤติ ซึ่งจะไดศึกษาตอไป

                             ¢Ñé¹μ͹·ÕèÊÕè การพิพากษาคดีอาญา (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ม.๑๘๒)

              เมื่อสืบพยานจนไดขอยุติอยางใดอยางหนึ่งแลววาจําเลยไดกระทําความผิดหรือไมไดกระทําความผิดจริง
              ตามฟอง ใหศาลอานคําพิพากษาหรือคําสั่งในศาลโดยเปดเผยในวันเสร็จการพิจารณาหรือภายในเวลา

              ๓ วัน นับแตวันเสร็จคดี เวนแตมีเหตุอันควร เชน ศาลติดเรียบเรียงคําพิพากษาเรื่องอื่นหลายเรื่อง
              หรือตองสงรางคําพิพากษาไปใหอธิบดีผูพิพากษาภาคตรวจตามระเบียบเสียกอน เชนนี้ ศาลอาจเลื่อน

              อานคําพิพากษาไปวันอื่นก็ได แตตองจดเหตุผลไวในรายงานกระบวนพิจารณาคําพิพากษาหรือคําสั่ง
              ของศาลตองทําเปนหนังสือลงลายมือชื่อผูพิพากษา ซึ่งนั่งพิจารณาคดีในการทําคําพิพากษา

              หรือคําสั่ง อาจดําเนินการเปน ๒ กรณี
                           ñ) ¡Ã³Õ¾Ô¾Ò¡ÉÒ¡¿‡Í§ (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ม.๑๘๕)

              ศาลจะพิพากษายกฟองโจทกและปลอยตัวจําเลยไปได ตองเขากับหลักเกณฑขอใดขอหนึ่งใน ๔ ขอดังนี้
                                 ๑.๑)  จําเลยไมไดกระทําความผิด

                                 ๑.๒)  การกระทําของจําเลยไมเปนความผิด
                                 ๑.๓)  มีเหตุตามกฎหมาย จําเลยไมควรตองรับโทษ

                                 ๑.๔)  คดีขาดอายุความ
                             ò) ¡Ã³Õ¾Ô¾Ò¡ÉÒŧâ·ÉจําàÅ เมื่อศาลเห็นวาจําเลยไดกระทําผิดจนปราศจาก

              ขอสงสัยและไมมีการยกเวนโทษตามกฎหมาย ใหศาลลงโทษจําเลยตามความผิด
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96