Page 114 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 114

๑๐๗




                 ปดทําการ ใหพนักงานสอบสวนสั่งใหผูตองหาไปศาลในโอกาสแรกที่ศาลเปดทําการ กรณีเชนวานี้ใหนํา
                 มาตรา ๘๗ มาใชบังคับแกการพิจารณาออกหมายขังโดยอนุโลม หากผูตองหาไมปฏิบัติตามคําสั่งของ

                 พนักงานสอบสวนดังกลาว ใหพนักงานสอบสวนมีอํานาจจับผูตองหานั้นได โดยถือวาเปนกรณีจําเปน
                 เรงดวนที่จะจับผูตองหาไดโดยไมมีหมายจับ และมีอํานาจปลอยชั่วคราวหรือควบคุมตัวผูตองหานั้นไว”

                                             ซึ่งการจับตามมาตรา ๑๓๔ วรรคหานี้ เปนการจับโดย¾¹Ñ¡§Ò¹ÊͺÊǹ
                 ที่สามารถจับผูตองหาโดยไมมีหมายจับได หากเปนกรณีที่แจงขอกลาวหาแลว แตผูตองหายังไมได

                 ถูกจับและยังไมไดมีการออกหมายจับ แตพนักงานสอบสวนเห็นวามีเหตุออกหมายขังผูตองหาได
                 และพนักงานสอบสวนสั่งใหผูตองหานั้นไปศาลเพื่อใหศาลออกหมายขัง แตผูตองหาไมยอมไปศาล

                 ตามคําสั่งของพนักงานสอบสวน ใหพนักงานสอบสวนมีอํานาจจับผูตองหานั้นได โดยถือวาเปนการ
                 จําเปนเรงดวนที่จะจับผูตองหาไดโดยไมตองมีหมายจับและมีอํานาจปลอยชั่วคราวหรือควบคุมผูตองหา

                 นั้นไวไดเชนกัน


                             õ.ó.ò ¡ÒèѺâ´ÂÃÒÉ®Ã

                                    ในอดีตประเทศไทยเราก็มีกฎหมายที่ใหอํานาจแกราษฎรในการจับตัวผูกระทํา
                 ความผิด กลาวคือในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่สามแหงกรุงรัตนโกสินทร

                 ไดประกาศใชกฎหมายลักษณะโจรหาเสน ซึ่งมีสาระสําคัญคือ หากมีเหตุการณโจรปลนเกิดขึ้น
                 ทองที่ใด ราษฎรที่อาศัยอยูใกลกับที่เกิดเหตุในระยะไมเกินหาเสน (๒๐๐ เมตร) จะตองชวยเจาหนาที่

                 จับโจร มิฉะนั้นจะมีความผิด และหากคนรายปลนทรัพยไปได ราษฎรที่ไมเขาชวยเหลือก็จะถูก การปรับ
                 ตามศักดินา คือ ผูมีศักดินา ๑๕ - ๑๕๐ ไร ปรับ ๕ ตําลึง ผูที่มีศักดินา ๒๐๐ ไรขึ้นไปถึง ๑๐,๐๐๐ ไร

                 ใหปรับมากขึ้นตามสวน สวนพวกที่มีศักดินา ๕ - ๑๕ ไร ใหเฆี่ยนแทนคาปรับคนละ ๑๕ ที
                                    จะเห็นไดวากฎหมายลักษณะโจรหาเสนนี้ มีจุดประสงคใหราษฎรชวยกันปองกัน

                 และรักษาความสงบเรียบรอยภายในรัศมีที่ตนอาศัยอยู ซึ่งหลักการเชนนี้สอดคลองกับบทบัญญัติ
                 ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๗๙

                                    “ราษฎรจะจับผูอื่นไมไดเวนแตจะเขาอยูในเกณฑแหงมาตรา ๘๒ หรือเมื่อผูนั้น
                 กระทําความผิดซึ่งหนา และความผิดนั้นไดระบุไวในบัญชีทายประมวลกฎหมายนี้ดวย”

                                    จากมาตราดังกลาว เห็นไดวาÃÒɮèѺºØ¤¤Åä´Œตอเมื่อ
                                    ๑)  กรณีเขาหลักเกณฑตามมาตรา ๘๒ กลาวคือ เมื่อ਌Ҿ¹Ñ¡§Ò¹¼ÙŒ¨Ñ´¡ÒÃμÒÁ

                 ËÁÒ¨ѺÌͧ¢Í¤ÇÒÁª‹ÇÂàËÅ×Íจากบุคคลใกลเคียงเพื่อใหจับการตามหมายนั้นได ผูที่ไดรับการรองขอ
                 จึงมีอํานาจจับได
                                    μÑÇÍ‹ҧ

                                    ส.ต.ต.แดงจะจับนายขาวตามหมายจับ แตปรากฏวานายขาววิ่งหนีไปทิศทาง

                 ที่นายเขียวยืนอยู ส.ต.ต.แดงจึงรองขอใหนายเขียวชวยจับตัวนายขาวไว เชนนี้ นายเขียวสามารถจับ
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119