Page 118 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 118

๑๑๑




                 หรือผูซึ่งตองชวยเจาพนักงานตามกฎหมายในการปฏิบัติการตามหนาที่ตามประมวลกฎหมายอาญา
                 มาตรา ๑๓๘ และหากมีการตอสูโดยไดทํารายหรือฆาราษฎรที่เขาชวยเหลือยอมมีโทษหนักกวา

                 ทํารายหรือฆาประชาชนธรรมดาตามมาตรา ๒๙๖ ประกอบมาตรา ๒๙๕, มาตรา ๒๙๘ ประกอบ
                 มาตรา ๒๙๗ และมาตรา ๒๘๘ ประกอบมาตรา ๒๘๙

                             ข)  หากราษฎรจับผูกระทําความผิดซึ่งหนาและเปนความผิดดังที่ระบุไวในบัญชีทาย
                 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา แมราษฎรจะไมไดรับความคุมครองอยางขอ ก) แตราษฎร

                 ก็มีอํานาจใชกําลังหรือใชการปองกันเพื่อการจับไดตามสมควรแกกรณีโดยไมมีความผิด
                 ในทางตรงกันขามผูที่จะถูกจับไมสามารถอางวาเปนการกระทําเพื่อปองกันสิทธิเสรีภาพของเขาได

                 หากทํารายราษฎรผูที่จะจับก็มีความผิดฐานทํารายรางกายผูอื่น หรือความผิดอื่น ๆ แลวแตกรณี
                             ¡Ã³ÕÃÒɮèѺâ´ÂäÁ‹ÁÕอํา¹Ò¨¨Ñº ราษฎรผูจับจะไมไดรับการคุมครองจากกฎหมาย

                 และผูที่จะถูกจับกุมยอมมีอํานาจที่จะกระทําเพื่อปองกันสิทธิเสรีภาพของเขาที่จะไมใหถูกจับได
                 โดยไมมีความผิดดวย
                             ดังนั้น การจับไมวาจะเปนพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ หรือจะเปนราษฎรจะทําการ

                 จับกุมผูใด จะตองปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ กฎหมายจึงจะคุมครองการกระทําของ
                 เจาพนักงานหรือราษฎรผูจับนั้น แตหากไมปฏิบัติตามกฎหมายเสียแลวก็ยอมจะไมไดรับการคุมครอง

                 จากกฎหมาย

                 õ.ô ¢ŒÍจํา¡Ñ´ã¹¡ÒèѺ

                             แมวาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาจะใหอํานาจเจาพนักงานฝายปกครอง

                 หรือตํารวจ มีอํานาจในการจับกุมก็ตาม หากการจับนั้นเปนการกระทําที่กระทบสิทธิเสรีภาพสวนบุคคล
                 จึงตองมีขอจํากัดบางประการ กลาวคือ การใชอํานาจในการจับของเจาพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ

                 นั้น ไดมีขอจํากัดไว ๒ ทาง คือ
                             õ.ô.ñ ¢ŒÍจํา¡Ñ´ã¹àÃ×èͧ¢Í§อํา¹Ò¨¢Í§à¨ŒÒ¾¹Ñ¡§Ò¹

                                    แมวาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญากําหนดใหพนักงานฝายปกครอง
                 หรือตํารวจมีอํานาจในการจับกุมก็ตาม แตอํานาจของแตละฝายไมเหมือนกัน ดังที่ไดมีคําพิพากษาของ

                 ศาลฎีกาไดวางบรรทัดฐานไว กลาวคือ
                                    ¡Ã³Õ·Õè¼ÙŒ¨Ñºà»š¹¾¹Ñ¡§Ò¹½†Ò»¡¤Ãͧ

                                    พนักงานฝายปกครองจะมีอํานาจจับได੾ÒÐÀÒÂã¹à¢μ·Õèμ¹ÁÕอํา¹Ò¨´Ùáž×é¹·Õè
                 ¹Ñé¹ æ à·‹Ò¹Ñé¹ เนื่องจากพระราชบัญญัติลักษณะปกครองสวนทองถิ่นฯ ไดกําหนดอํานาจและหนาที่
                 ของกรรมการอําเภอ ในเรื่องที่เกี่ยวกับความผิดอาญาไวในมาตรา ๑๐๑ ขอ ๒ “ความอาญาเกิดขึ้น

                 ในทองที่อําเภอใดหรือตัวจําเลยมาอาศัยอยูในทองที่อําเภอใด ใหกรรมการอําเภอ (นายอําเภอ,

                 ปลัดอําเภอ) มีอํานาจที่จะสั่งใหจับผูตองหามาไตสวนใหคดีเรื่องนั้นในชั้นตน”
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123