Page 123 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 123

๑๑๖



              õ.õ ¢Ñé¹μ͹»¯ÔºÑμÔ㹡ÒèѺ¡ØÁ

                          เนื่องจากประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาใหอํานาจในการจับกุมแกพนักงาน
              ฝายปกครองหรือตํารวจ และใหอํานาจจับกุมแกราษฎรที่สามารถจับกุมผูกระทําความผิดซึ่งหนาได

              ในบางกรณี ดังนั้น จึงขอแยกขั้นตอนปฏิบัติในการจับกุมเปน ๒ กรณี กลาวคือ



                          õ.õ.ñ ¡Ã³Õ਌Ҿ¹Ñ¡§Ò¹à»š¹¼ÙŒ¨Ñº
                                 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ไดวางหลักเกณฑสําหรับการปฏิบัติ

              สําหรับการเขาทําการจับกุม ซึ่งพอสรุปไดดังนี้
                                 ๑)  ในการจับนั้น จะตองแจงแกผูที่จะตองถูกจับกุมนั้นวาà¢ÒμŒÍ§¶Ù¡¨Ñº แลวสงให

              ผูถูกจับนั้นไปยังที่ทําการของพนักงานสอบสวนทองที่ที่ถูกจับพรอมกับผูจับ แตถาสามารถนําตัว
              ผูถูกจับนั้นไปที่ทําการของพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบไดในขณะนั้นก็ใหนําตัวไป ณ ที่ทําการดังกลาว

              และหากผูที่จับนั้นเห็นวาจําเปนก็ใหจับตัวไป (มาตรา ๘๓ วรรคแรก)
                                 ๒)  เจาพนักงานผูจับตองᨌ§¢ŒÍ¡Å‹ÒÇËÒใหผูถูกจับทราบ หากมีหมายจับก็ให
              แสดงหมายจับนั้นตอผูถูกจับ พรอมทั้งᨌ§ÊÔ·¸Ô¢Í§¼ÙŒ¶Ù¡¨Ñº ดังนี้

                                     ก)  มีิสิทธิที่จะไมใหการหรือใหการก็ได
                                     ข)  ถอยคําของผูถูกจับนั้น อาจใชเปนพยานหลักฐานในการพิจารณาคดีได

                                     ค)  ผูถูกจับมีสิทธิที่จะพบและปรึกษาทนายความหรือผูซึ่งจะเปนทนายความ
                                 ๓)  ถาผูถูกจับประสงคจะแจงญาติ หรือผูซึ่งตนไววางใจทราบถึงการจับกุมที่

              สามารถดําเนินการไดโดยสะดวก และไมเปนการขัดขวางการจับหรือการควบคุมผูถูกจับ หรือทําใหเกิด
              ความไมปลอดภัยแกบุคคลหนึ่งบุคคลใด ก็ใหเจาพนักงานอนุญาตใหผูถูกจับดําเนินการไดตามสมควร

              แกกรณี (กรณีนี้เปนเรื่องที่ผูถูกจับรองขอ มิใชเปนการบังคับใหเจาพนักงานผูจับตองแจงใหทราบ) ในกรณีนี้ใหเจาพนักงาน
              ผูจับนั้นบันทึกการจับดังกลาวไวดวย (มาตรา ๘๓ วรรคสอง)
                                 ๔)  ถาบุคคลซึ่งจะถูกจับขัดขวางหรือจะขัดขวางการจับหรือหลบหนีหรือพยายาม

              จะหลบหนี ผูจับมีอํานาจใชÇÔ¸ÕËÃ×Í¡Òû‡Í§¡Ñ¹·Ñé§ËÅÒÂà·‹Ò·ÕèàËÁÒÐÊÁá¡‹¾ÄμÔ¡Òóแหงเรื่องในการ
              จับนั้นได (มาตรา ๘๓ วรรคทาย)

                                 ๕)  เจาพนักงานผูทําการจับตองเอาตัวผูถูกจับไปยังที่ทําการของพนักงานสอบสวน
              ทองที่ที่ระบุไวในมาตรา ๘๓ และเมื่อถึงที่นั้นแลว ใหสงตัวผูถูกจับแกพนักงานตํารวจของที่ทําการของ

              พนักงานสอบสวนดังกลาว เพื่อดําเนินการตอไป
                                 การนําตัวผูถูกจับไปยังที่ทําการของพนักงานสอบสวน นอกจากมีการแจงขอกลาวหา

              และรายละเอียดเกี่ยวกับเหตุแหงการจับใหผูถูกจับทราบ ถามีหมายจับใหแจงใหผูถูกจับทราบ
              และอานใหฟง และมอบสําเนาบันทึกการจับแกผูถูกจับนั้น (มาตรา ๘๔ (๑))
                                 ๖)  ใหพนักงานตํารวจซึ่งมีผูนําผูถูกจับมาสง (ผูรับมอบตัว) แจงผูถูกจับใหทราบ

              ถึงÊÔ·¸ÔμÒÁÁÒμÃÒ ÷/ñ ã¹âÍ¡ÒÊáá กลาวคือ แจงใหเขาทราบวาเขามีสิทธิ ดังนี้
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128