Page 125 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 125

๑๑๘




                                 ๑)  การจับนั้นเจาพนักงานตํารวจตองᨌ§á¡‹¼ÙŒ·Õè¨Ð¶Ù¡¨Ñº¹Ñé¹Ç‹Ò à¢ÒμŒÍ§¶Ù¡¨Ñº
              áÅŒÇสั่งใหผูถูกจับไปยังที่ทําการของพนักงานสอบสวนแหงทองที่ที่ถูกจับพรอมดวยผูจับทันที

              เวนแตสามารถนําไปที่ทําการพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบไดในขณะนั้นใหนําไปที่ทําการของพนักงาน
              สอบสวนผูรับผิดชอบนั้น แตถาจําเปนก็ใหจับตัวไป (คําสั่ง ตร. ที่ ๔๑๙/๒๕๕๖ ขอ ๓.๒)

                                 ๒)  μŒÍ§á¨Œ§¢ŒÍËÒใหผูถูกจับทราบ หากมีหมายจับใหแสดงตอผูถูกจับและแจง
              ดวยวาผูถูกจับมีสิทธิ์ที่จะใหการหรือไมใหการก็ได หากใหการถอยคํานั้นอาจใชเปนพยานหลักฐาน

              ในการพิจารณาคดีได และผูถูกจับมีสิทธิ์ที่จะพบและปรึกษาทนายความ หรือผูซึ่งจะเปนทนายความได
              โดยใหเจาพนักงานตํารวจพูดขอความในลักษณะตอไปนี้


                      ¡Ã³Õ໚¹¡ÒèѺâ´ÂäÁ‹ÁÕËÁÒ¨Ѻ
                      “คุณ(ทาน) ถูกจับแลวในขอหา................... คุณ(ทาน)มีสิทธิ์ที่จะใหการหรือไมใหการก็ได ถาคุณ(ทาน)ใหการถอยคํา
               นั้นอาจใชเปนพยานหลักฐานในการพิจารณาคดีได คุณ(ทาน)มีสิทธิ์ที่จะพบและปรึกษาทนายหรือผูซึ่งจะเปนทนายความได”
                      ¡Ã³Õ໚¹¡ÒèѺâ´ÂÁÕËÁÒ¨ѺËÃ×ÍคําÊÑ觢ͧÈÒÅ
                      “คุณ(ทาน) ถูกจับตามหมายจับของศาล..............ที่.............../๒๕...........ลงวันที่่................ในขอหา
               ..............................................คุณ(ทาน)มีสิทธิ์ที่จะใหการหรือไมใหการก็ได ถาคุณ(ทาน)ใหการถอยคํานั้น อาจใชเปนพยาน
               หลักฐานในการพิจารณาคดีได คุณ(ทาน)มีสิทธิ์ที่จะพบและปรึกษาทนายหรือผูซึ่งจะเปนทนายความได”



                                 นอกจากนี้ใหเจาพนักงานผูจับºÑ¹·Ö¡à¡ÕèÂǡѺ¡ÒÃᨌ§ÊÔ·¸Ôดังกลาวขางตนไว
              㹺ѹ·Ö¡¡ÒèѺ¡ØÁดวย โดยใหปรากฏขอความวา “ผูจับไดแจงใหผูถูกจับทราบแลววาทานตองถูกจับ

              ในขอหาดังกลาวและมีสิทธิที่จะใหการหรือไมใหการก็ได ใหการถอยคํานั้นอาจใชเปนพยานหลักฐาน
              ในการพิจารณาคดีไดและมีสิทธิ์ที่จะพบและปรึกษาทนายความหรือผูซึ่งจะเปนทนายความได” จากนั้น

              จึงบันทึกคําใหการของผูถูกจับลงในบันทึกการจับ  (คําสั่ง ตร. ที่ ๔๑๙/๒๕๕๖ ขอ ๓.๓)
                                 ๓)  ถาผูถูกจับประสงคจะแจงใหญาติ หรือผูซึ่งตนไววางใจทราบถึงการจับ

              หากเปนการสะดวกและไมเปนการขัดขวางการจับหรือการควบคุมผูถูกจับหรือทําใหเกิดความไม
              ปลอดภัยแกบุคคลใดใหเจาพนักงานอนุญาตใหผูถูกจับดําเนินการไดตามสมควรแกกรณี   (คําสั่ง ตร.

              ที่ ๔๑๙/๒๕๕๖ ขอ ๓.๔)
                                 ๔)  หากบุคคลซึ่งจะถูกจับขัดขวางหรือจะขัดขวางการจับ หรือหลบหนีหรือ

              พยายามจะหลบหนี ผูทําการจับมีอํานาจใชวิธีหรือการปองกันที่เหมาะสมแกพฤติการณแหงเรื่องใน
              การจับนั้น  (คําสั่ง ตร. ที่ ๔๑๙/๒๕๕๖ ขอ ๓.๕)
                                 ๕)  เจาพนักงานตํารวจหรือราษฎรผูทําการจับ ตองเอาตัวผูถูกจับไปยังที่ทําการ

              ของพนักงานสอบสวนแหงทองที่ที่ถูกจับพรอมดวยผูจับ เวนแตสามารถนําไปที่ทําการของพนักงาน
              สอบสวนผูรับผิดชอบไดในขณะนั้น ใหนําไปที่ทําการของพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบดังกลาว

                                 กรณีพนักงานสอบสวนแหงทองที่ที่ถูกจับเปนคนละทองที่กับพนักงานสอบสวน
              ผูรับผิดชอบ ใหหัวหนาหนวยงานที่มีอํานาจสอบสวนแหงทองที่ที่ถูกจับรีบสงตัวผูถูกจับไปยังพนักงาน
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130