Page 117 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 117

๑๑๐




              เพื่อจะพาไปหาผูใหญบาน อยางไรก็ตาม กฎหมายตองการความรวมมือจากราษฎรในการระงับ
              และปราบปรามการกระทําผิด จึงบัญญัติเปนขอยกเวนใหราษฎรมีอํานาจจับไดในบางกรณี


               ¢ŒÍÊѧà¡μ
                       ราษฎรมีอํานาจจับไดเฉพาะกรณีความผิดนั้นเปนความผิดที่ระบุไวในบัญชีทายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
               ความอาญาเทานั้น เพราะอํานาจในการจับของราษฎรนั้นมีนอยกวาเจาพนักงานฝายปกครอง ตํารวจแมวาเปนการกระทํา
               ความผิดซึ่งหนา ไมวาจะเปนการกระทําความผิดซึ่งหนาอยางแทจริง (ตาม ป.วิ.อาญา มาตรา ๘๐ วรรคหนึ่ง) หรือกรณีที่
               ถือวากระทําความผิดซึ่งหนา (ตามมาตรา ๘๐ วรรคสอง) ก็ตาม
                       หากความผิดนั้นไมไดระบุไวในบัญชีทายประมวลฯ ราษฎรก็ไมมีอํานาจจับ แมจะเห็นกําลังกระทําความผิดก็ตาม
                       μÑÇÍ‹ҧ
                       นายขาวราษฎรเห็นนายแดงขณะลักทรัพยนายดํา นายขาวจับนายแดงไดโดยอาศัยอํานาจตาม ป.วิ.อาญา
               มาตรา ๗๙ ประกอบกับมาตรา ๘๐ ตามตัวอยางนี้ เปนกรณีที่นายขาวเห็นนายแดงกําลังกระทํา และความผิดฐานลักทรัพย
               นั้นระบุในบัญชีทายประมวลฯ ดวย
                       μÑÇÍ‹ҧ
                       นายขาวราษฎรเห็นนายดําวิ่งตามหลังนายแดงพรอมกับรองวา “ขโมย ๆ” นายขาวจับนายแดงได โดยอาศัยอํานาจ
               ตาม ป.วิ.อาญา มาตรา ๗๙ ประกอบกับมาตรา ๘๐ ตามตัวอยางนี้เปนกรณีที่นายขาวเห็นนายแดง “ถูกไลจับดั่งผูกระทํา
               (ความผิด) โดยมีเสียงรองเอะอะ” และความผิดฐานลักทรัพยนั้นก็ระบุไวบัญชีทายประมวลฯ ดวย



                     ¢ŒÍáμ¡μ‹Ò§ã¹·Ò§»¯ÔºÑμԢͧ਌Ҿ¹Ñ¡§Ò¹ตําÃǨÃÐËNjҧ¡Ã³Õ਌Ҿ¹Ñ¡§Ò¹à»š¹¼ÙŒ¨Ñº

                                          áÅСóÕÃÒɮèѺÁÒÊ‹§à¨ŒÒ¾¹Ñ¡§Ò¹

                              ਌Ҿ¹Ñ¡§Ò¹¨Ñº                       ÃÒɮèѺáÅŒÇÊ‹§Áͺ਌Ҿ¹Ñ¡§Ò¹


               ๑.  แจงขอกลาวหา (ซึ่งแจงครั้งหนึ่งแลว ขณะจับกุม ๑.  ผูรับมอบตัวจะตองบันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับ
                   ตามรายละเอียดเกี่ยวกับเหตุแหงการจับใหผูถูกจับ    ผูจับและพฤติการณแหงการจับ แลวใหผูจับ
                   ทราบ                                          ลงลายมือชื่อกํากับ (มาตรา ๘๔ (๒))
               ๒.  อานหมายจับใหผูถูกจับฟง (ในกรณีมีหมายจับ) และ ๒.  แจงขอกลาวหาและรายละเอียดแหงการจับ
                   มอบสําเนาบันทึกการจับแกผูถูกจับ (มาตรา ๘๔ (๑))    ใหผูถูกจับทราบ (มาตรา ๘๔ (๒))
               ๓.  แจงสิทธิใหผูถูกจับทราบวา เขามีสิทธิที่จะใหการ ๓.  แจงใหผูถูกจับทราบวา ผูถูกจับมีสิทธิที่จะ
                   หรือไมก็ได และถอยคํานั้นอาจใชเปนพยานหลักฐาน    ใหการหรือไมใหการก็ได และถอยคําของ
                   ในการพิจารณาคดี และมีสิทธิพบหรือปรึกษา        ผูถูกจับอาจใชเปนพยานหลักฐานในการพิจารณา
                   ทนายความ (มาตรา ๘๓ วรรคสอง)                   คดีก็ได (มาตรา ๘๔ (๒))




                          ¼Å¢Í§¡Ò÷ÕèÃÒÉ®ÃÁÕอํา¹Ò¨¨Ñº



                          ¡Ã³Õ·ÕèÃÒÉ®ÃÁÕอํา¹Ò¨¨Ñº ราษฎรยอมไดรับการคุมครองโดยกฎหมาย กลาวคือ
                          ก)  หากราษฎรดังกลาวไดกระทําโดยเปนการชวยเหลือเจาพนักงานผูจัดการตามหมายจับ

              และหากวาผูจะตองถูกจับไมยินยอมใหจับ  จะมีความผิดฐานตอสูหรือขัดขวางเจาพนักงาน
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122