Page 113 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 113

๑๐๖




                                          μÑÇÍ‹ҧ
                                          มีรายงานการสืบสวน ทําใหทราบวานายดําเปนบุคคลที่นาจะเปน

              ผูกระทําความผิดลักรถยนตจากจังหวัดสระแกวเพื่อนําไปขายยังประเทศเพื่อนบาน และขณะนี้นายดํา
              กําลังขับรถยนตคันดังกลาวมุงหนาไปยังดานชายแดน และกําลังจะผานแดนออกไปยังตางประเทศ

              เพื่อหลบหนี กรณีเชนนี้ เมื่อพิจารณาจากพฤติการณที่ขับรถมุงหนาไปยังดานชายแดน หากจะรอขอ
              หมายจับจากศาลก็อาจจับนายดําไมได จึงเปนความจําเปนเรงดวน ประกอบกับมีรายงานการสืบสวน

              ซึ่งถือไดวามีหลักฐานตามสมควร เชนนี้เจาพนักงานตํารวจสามารถจับนายดําไดโดยไมตองมีหมายจับ


                                          (ô) ¡Ã³Õ¨Ñº¼ÙŒμŒÍ§ËÒËÃ×ÍจําàÅ·ÕèËź˹ÕμÒÁÁÒμÃÒ ÷ø (ô)

              เจาพนักงานตํารวจจับผูตองหาหรือจําเลยไดเมื่อ “เปนการจับผูตองหาหรือจําเลยที่หนีหรือจะหลบหนี

              ในระหวางถูกปลอยชั่วคราว ตามมาตรา ๑๑๗”
                                          การจับตามมาตรา ๗๘ (๔) นี้ เจาพนักงานตํารวจจะจับผูตองหา
              หรือจําเลยไดใน ๒ กรณี กลาวคือ

                                          ๑.  ผูที่จะถูกจับ μŒÍ§à»š¹¼ÙŒμŒÍ§ËÒËÃ×ÍจําàÅ·Õèä´ŒÃѺ¡ÒûŋͪÑèǤÃÒÇ
              ระหวางการสอบสวนหรือระหวางการพิจารณาคดีของศาล และเจาพนักงานตํารวจพบวาผูนั้นหลบหนี

              หรือจะหลบหนี
                                          ๒.  การที่เจาพนักงานตํารวจมิไดเปนผูพบดวยตัวเองวาจะมีการหลบหนี

              แตไดรับคําขอจากผูประกันหรือผูที่เปนหลักประกันผูตองหาหรือจําเลยที่ไดรับการปลอยชั่วคราวนั้น
              ขอใหจับà¾ÃÒмٌ¹Ñé¹Ëź˹ÕËÃ×ͨÐËź˹Õ

                                          จะเห็นไดวา การที่ผูตองหาหรือจําเลยหนีหรือจะหลบหนี ถือวาเปนเหตุ
              จําเปนอีกประการหนึ่งที่จับได โดยไมตองมีหมายจับ เพราะไมอาจขอใหศาลออกหมายจับไดทันทวงที

              ประกอบกับผูตองหาหรือจําเลยก็ไดเคยถูกจับมาแลวในอดีตโดยผานกระบวนการตรวจสอบโดยศาล
              โดยการออกหมายจับแลว หรือมิฉะนั้นก็เปนการที่จับไดโดยไมตองมีหมายจับจนถึงขั้นที่มีการปลอย

              ชั่วคราวมาแลว (เกียรติขจร  วัจนะสวัสดิ์, ๒๕๕๓)
                                          อยางไรก็ดี ถาเปนกรณีที่ผูตองหาหรือจําเลยที่มีหมายจับนั้นไดถูกจับแลว

              แตตอมาไดมีการหลบหนี หรือมีบุคคลชวยใหหลบหนีไปได เชนนี้ มาตรา ๖๕ ใหอํานาจเจาพนักงาน
              ผูจับมีอํานาจติดตามจับผูตองหาหรือจําเลยที่กําลังหลบหนีไดโดยไมตองขอหมายจับอีก เพราะเปนการ

              บังคับใหเปนไปตามหมายจับนั้นเอง มิใชเปนการจับโดยอาศัยเหตุที่เกิดขึ้นมาใหมแตอยางใด
                                          นอกจากนี้ ยังมีกรณีการจับโดยไมมีหมายจับตามมาตรา ๑๓๔ วรรคหา
              “เมื่อไดมีการแจงขอกลาวหามาแลว ถาผูตองหาไมใชผูถูกจับหรือและยังไมไดมีการออกหมายจับ

              แตพนักงานสอบสวนเห็นวามีเหตุที่จะออกหมายขังผูนั้นไดตามมาตรา ๗๑ พนักงานสอบสวนมีอํานาจ

              สั่งใหผูตองหาไปศาลเพื่อขอออกหมายจับโดยทันที แตถาขณะนั้นเปนเวลาที่ศาลปดหรือใกลจะทําการ
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118