Page 116 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 116

๑๐๙




                 หรือตํารวจที่ใกลที่สุดจับผูตองหาหรือจําเลยได  ถาไมสามารถขอความชวยเหลือจากเจาพนักงานได
                 ทันทวงที ก็ใหมีอํานาจจับผูตองหาหรือจําเลยไดเอง แลวสงใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจที่ใกล

                 ที่สุด และใหเจาพนักงานนั้นรีบจัดสงผูตองหาหรือจําเลยไปยังเจาพนักงานหรือศาล โดยคิดคาพาหนะ
                 จากบุคคลซึ่งทําสัญญาประกันหรือหลักประกันนั้น”

                                    กรณี ตามมาตรา ๑๑๗ นั้น เปนการที่ผูตองหาหรือจําเลยไดรับการปลอยตัวมา
                 แลวหลบหนีหรือจะหลบหนี เชนนี้ ผูทําสัญญาประกันหรือผูที่เปนหลักประกัน มีสิทธิขอใหพนักงาน

                 ฝายปกครองหรือตํารวจที่ใกลที่สุดจับตัวไวได
                                    แตตัวผูทําสัญญาประกันหรือผูที่เปนหลักประกันดังกลาว ไมสามารถขอ

                 ความชวยเหลือไดทันทวงที เชนนี้กฎหมายใหอํานาจผูทําสัญญาประกันหรือผูที่เปนหลักประกันนั้น
                 จับผูตองหาหรือจําเลยได และสงมอบใหเจาพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจที่ใกลที่สุด


                  ¢ŒÍÊѧà¡μ
                          ในกรณีที่จําเลยหลบหนีเชนนี้ ผูทําสัญญาประกันหรือผูที่เปนหลักประกันตัวจําเลยในคดีอาญา จะมาขอใหศาล
                  ออกหมายจับและหมายคนเพื่อใหเจาพนักงานตํารวจจับตัวจําเลย โดยอางวาจําเลยมีเจตนาหลบหนีหาไดไม เพราะเปนเรื่อง
                  ที่ผูทําสัญญาประกันอาจจัดการไดเองตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๑๗ อยูแลว (คําสั่งคํารองที่
                  ๖๔๙/๒๕๑๗)



                                    อํา¹Ò¨¡ÒèѺ¡ØÁ¢Í§ÃÒɮà à·Õº¡Ñº¡ÒèѺ¡ØÁ¢Í§à¨ŒÒ¾¹Ñ¡§Ò¹
                                    อํานาจในการจับกุมของราษฎรในขอนี้ ซึ่งเกี่ยวกับการจับกุมความผิดซึ่งหนา และ

                 ความผิดซึ่งหนานั้นจะตองเปนความผิดที่ระบุไวในบัญชีทาย ป.วิ.อาญา ก็มีขอคลายคลึงกับอํานาจของ
                 พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจที่มีอํานาจจับไดโดยไมตองมีหมายจับ แตคงมีขอแตกตางกันบาง ดังนี้
                                    ๑.  เจาพนักงานมีอํานาจจับกุมผูกระทําความผิดซึ่งหนาในคดีทุกประเภท

                 แตราษฎรจับไดเฉพาะประเภทที่ระบุไวในบัญชีทาย ป.วิ.อาญา เทานั้น

                                    ๒.  นอกจากความผิดซึ่งหนาแลว เจาพนักงานมีอํานาจจับตามพฤติการณ
                 ตามมาตรา ๗๘ (๒) (๓) และ (๔) แตราษฎรไมมีอํานาจจับไดตามพฤติการณเหลานั้น


                 μÑÇÍ‹ҧคํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒŮաÒ
                             คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè óøø/òôùö  วินิจฉัยวา ผูกระทําผิดไดใชปนยิงบุคคลอื่นตอหนา

                 ราษฎร ราษฎรจะเขาจับกุม แตผูถูกจับไมยอมใหจับและชักมีดออกมาทํารายราษฎร ราษฎรจึงเขา
                 กอดปลํ้าแยงมีดไดแลวแทงผูถูกจับ ๑ ที ผูถูกจับตาย ศาลฎีกาวินิจฉัยวา ราษฎรมีอํานาจจับ

                 เพราะเปนความผิดซึ่งหนาตามบัญชีทาย ป.วิ.อาญา เมื่อผูถูกจับทําราย ราษฎรจึงตอสูปองกันตนเอง
                 ในกรณีนี้เปนการปองกันตัวพอสมควรแกเหตุ ราษฎรจึงไมมีความผิด

                             คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè ñùôñ/òõñô  วินิจฉัยวา ราษฎรมีเหตุเพียงสงสัยวา ผูอื่นจะมา
                 พยายามลักทรัพยของตน ราษฎรนั้นไมมีอํานาจตามกฎหมายที่จะจับกุม และใชปนขูบังคับผูตองสงสัย
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121