Page 146 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 146

๑๓๙




                                 ๓.  สถานที่ ใหพิเคราะหถึงสถานที่ที่จะควบคุมไป มีโอกาสที่ผูตองหาจะหลบหนี
                 หรือทําอันตรายแกผูควบคุมไดงาย หรือไม

                                 ๔.  เวลา เปนเวลากลางวันหรือกลางคืน หรือจําเปนตองพักคางแรม
                                 ๕.  กิริยาความประพฤติ ความประพฤติในอดีตเปนอยางไร

                                 ขอ ๑๔๗  การใสกุญแจมือผูตองหา ตองไมใหหลวมหรือคับเกินไป เพราะถาหลวมมาก
                 ก็จะหลุดจากขอมือไดงาย ถาคับมากก็จะเปนการทรมานผูตองหา เมื่อใสกุญแจมือแลว ในกรณี

                 ที่มีความจําเปนจะมีโซรอยสําหรับถือควบคุมไปก็ได ใหผูตองหาเดินหนาผูควบคุมถือชายโซเดิน
                 ตามหลังหรือเดินไปขาง (สนธยา  รัตนธารส, ๒๕๕๘)



                                              μÑÇÍ‹ҧคํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒŮաÒ
                                                        ¡ÒäǺ¤ØÁ



                             คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè ÷ôô/òõðñ  การควบคุมตัวผูตองหา ผูควบคุมตองพิเคราะหไป

                 ใชวิธีเกินกวาที่จําเปนเพื่อปองกันไมใหหนี ถาใสกุญแจมือผูตองหามิใชเพื่อมิใหหนีแตเพื่อใหไดอาย
                 แมจะไมเจตนาแกลงเปนสวนตัว หากแตเพื่อปราบปรามเจามือสลากกินรวบ เปนการไมชอบดวย

                 ป.วิ.อาญา มาตรา ๘๖ ก็เปนความผิดตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา ๑๔๕ (ประมวลกฎหมาย
                 อาญา มาตรา ๑๕๗)

                             คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè òñóñ/òõòñ  ที่จะควบคุมบุคคลที่เปนภัยตอสังคมไดตองมีหลักฐาน
                 พอสมควรที่จะฟงวามีพฤติการณเชนนั้น มิใชเพียงหลักฐานเลื่อนลอยคลุมเครือ ศาลสั่งใหปลอย

                 ผูถูกควบคุมได
                             คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè óôô/òõòò  ศาลมีอํานาจวินิจฉัยวาบุคคลที่ถูกควบคุมฐานเปนภัย

                 ตอสังคมตามคําสั่งคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ ๒๒ มีพฤติการณที่เปนภัยตอสังคม
                 ตามที่ระบุกรณีไวหรือไม เมื่อศาลสั่งอยางไร ผูรองหรือผูคัดคานอุทธรณฎีกาได

                             คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè óõùø/òõóñ (»ÃЪØÁãËÞ‹)  วันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๒๘ เจาหนาที่
                 ตํารวจจับกุม ก. สงพนักงานสอบสวนในขอหาวาใชรถจักรยานยนตไมติดปายทะเบียนและเปนบุคคล

                 ตางดาวเขามาในราชอาณาจักรโดยไมไดรับอนุญาต พนักงานสอบสวนรับตัว ก. ควบคุมไว สําหรับขอหาแรก
                 พนักงานสอบสวนไดเปรียบเทียบปรับไปแลว แตคงควบคุมตัว ก. ไวตลอดมาโดยมิไดยื่นคํารองตอศาล

                 ขอใหหมายขัง ก. ไว จนถึงวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๒๘ จําเลยซึ่งทําหนาที่สิบเวรที่ทําหนาที่ควบคุม
                 ดูแลผูตองหาไดปลอยให ก. หลบหนีไป เชนนี้ เมื่อพนักงานสอบสวนรับตัว ก. ควบคุมไวโดยมิได
                 ปลอยตัวไปตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๘๔ วรรคสอง การควบคุม ก. จึงเปนการควบคุมตามอํานาจพนักงาน

                 สอบสวน แตเพื่อมิใหการควบคุมเกินความจําเปนตามพฤติการณแหงคดี ป.วิ.อ. มาตรา ๘๗ จึงไดวาง

                 หลักเกณฑการควบคุมผูถูกจับไวเปนขั้นเปนตอน ดังนี้ แมพนักงานสอบสวนจะไมไดปฏิบัติตามวิธีการ
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151