Page 141 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 141

๑๓๔




                                  ในกรณีตามวรรคหก เมื่อศาลสั่งขังครบสี่สิบแปดวันแลว หากพนักงานอัยการ
              หรือพนักงานสอบสวนยื่นคํารองขอตอศาลเพื่อขอขังตอไปอีกโดยอางเหตุจําเปน ศาลจะสั่งขังตอไป

              ไดตอเมื่อพนักงานอัยการหรือพนักงานสอบสวนไดแสดงถึงเหตุจําเปน และนําพยานหลักฐานมาให
              ศาลไตสวนจนเปนที่พอใจแกศาล
                                  ในการไตสวนตามวรรคสามและวรรคเจ็ด ผูตองหามีสิทธิแตงทนายความ

              เพื่อแถลงขอคัดคาน และซักถามพยาน ถาผูตองหาไมมีทนายความเนื่องจากยังไมไดมีการปฏิบัติตาม
              มาตรา ๑๓๔/๑ และผูตองหารองขอใหศาลตั้งทนายความให โดยทนายความนั้นมีสิทธิไดรับเงินรางวัล

              และคาใชจายตามที่กําหนดไวในมาตรา ๑๓๔/๑ วรรคสาม โดยอนุโลม
                                  ถาพนักงานสอบสวนตองไปทําการสอบสวนในทองที่อื่นนอกเขตของศาลซึ่งไดสั่งขัง
              ผูตองหาไว พนักงานสอบสวนจะยื่นคํารองขอใหโอนการขังไปยังศาลในทองที่ที่จะตองไปทําการสอบสวน
              นั้นก็ได เมื่อศาลที่สั่งขังไวเปนการสมควรก็ใหสั่งโอนไป”



                          จากบทบัญญัติมาตรา ๘๗ นั้น ไดวางหลักเกณฑเรื่องของระยะเวลาในการควบคุม

              ผูถูกจับ ซึ่งพอสรุปไดดังนี้
                          ๑) ËŒÒÁÁÔãËŒ¤Çº¤ØÁ¼ÙŒ¶Ù¡¨Ñºà¡Ô¹¡Ç‹Ò¤ÇÒÁจํา໚¹μÒÁ¾ÄμÔ¡ÒóáË‹§¤´Õ  (มาตรา ๗๘
              วรรคแรก) ซึ่งหมายความวา เจาพนักงานตํารวจจะมีอํานาจในการควบคุมผูถูกจับไดนานเพียงใดนั้น
              ขึ้นอยูกับความจําเปนที่จะตองควบคุมตัว ซึ่งเจาพนักงานตํารวจจะμŒÍ§¾Ô¨ÒóҶ֧¤ÇÒÁจํา໚¹·ÕèNjҹÑé¹

              ¨Ò¡¾ÄμÔ¡ÒóáË‹§¤´Õã¹¢³Ð¹Ñé¹à»š¹ÊíÒ¤ÑÞ ซึ่งความจําเปนที่จะตองควบคุมตัวนี้ ไดแก
                             ๑.  จําเปนเพื่อถามคําใหการ

                             ๒.  จําเปนเพื่อสอบปากคําใหทราบวาผูถูกจับเปนใครและอยูที่ไหน
                             ๓.  จําเปนเพื่อปองกันมิใหผูถูกจับหลบหนี เชน เฉพาะกรณีที่ผูถูกจับไมมีที่อยู
              เปนหลักแหลง
                             ๔.  จําเปนเพื่อปองกันมิใหผูถูกจับไปยุงเหยิงกับพยานหลักฐาน เชน อาจไปทําลาย

              พยานเอกสาร พยานวัตถุที่สําคัญของคดี หรืออาจไปขมขูพยานบุคคล เปนตน
                             ๕.  จําเปนเพื่อปองกันภัยอันตราย หรือความเสียหายที่ผูถูกจับอาจจะไปกอเหตุ

              ซึ่งหากวาไมไดทําการควบคุมตัวเอาไว
                          ๒)  การควบคุมตัวผูถูกจับหรือผูตองหานั้น ¨ÐμŒÍ§¤Çº¤ØÁäÁ‹à¡Ô¹¡Ç‹Òกํา˹´ÃÐÂÐàÇÅÒ
              ·Õè¡®ËÁÒÂกํา˹´äÇŒในมาตรา ๘๗ ซึ่งขึ้นอยูกับความรายแรงของความผิดที่ผูตองหาถูกกลาวหา ดังนี้

                             (๑)  ในกรณีความผิดลหุโทษ
                                 ความผิดลหุโทษ หมายถึง ความผิดที่ระบุไวในประมวลกฎหมายอาญา ภาค ๓
              ซึ่งเห็นไดวาความผิดลหุโทษนั้นจะมีลักษณะทั่วไปดังนี้

                                 ๑.  เปนความผิดเพราะละเมิดในสิ่งที่กฎหมายกําหนดหามไว ซึ่งเปนเรื่องเล็กๆ
              นอยๆ เทานั้น ที่รัฐออกกฎหมายมาเพื่อคุมครองความเปนอยูของคนในสังคมใหอยูอยางรมเย็นเปนสุข
              เชน หามมิใหบุคคลทําใหทอระบายนํ้าอันเปนสิ่งสาธารณะเกิดขัดของ (ป.อาญา มาตรา ๓๗๕) เปนตน
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146