Page 140 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 140

๑๓๓




                 μÑÇÍ‹ҧคํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒŮաÒ
                             คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè óòö-óò÷/òõðõ  วินิจฉัยวา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา

                 ความอาญา มาตรา ๘๗ วางหลักเปนประกันสิทธิเสรีภาพไว ๒ ตอน ตอนตนจะควบคุมผูตองหา
                 เกินกวาจําเปนตามพฤติการณแหงคดีไมได ตอนที่สองความจําเปนจะมีเพียงใดก็ตาม ก็ควบคุมเกินกวา
                 กําหนดเวลาดังบัญญัติไวไมได เพราะฉะนั้นประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๒ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๐๑

                 เปนการแกไขและขยายระยะเวลาขั้นสูงดังกลาวในมาตรา ๘๗ แตไมไดยกเลิกหลักใหญของมาตรา ๘๗
                 ที่ใหควบคุมผูตองหาไดเทาที่จําเปนเทานั้น ประกาศนี้ใหอํานาจควบคุมผูตองหาในกรณีทําผิดตอ

                 พระราชบัญญัติคอมมิวนิสตไดเทาที่จําเปนแกการสอบสวนเทานั้นไมใชใหควบคุมโดยไมมีกําหนดเวลา
                             คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè òñóñ/òõòñ วินิจฉัยวา การที่จะควบคุมบุคคลที่เปนภัยตอสังคมได

                 ตองมีหลักฐานพอสมควรที่จะฟงวามีพฤติการณเชนนี้  มิใชเพียงหลักฐานเลื่อนลอยคลุมเครือเปนการ
                 ยืนยันหลักการที่วาตองมีเหตุสมควรเชื่อไดวากระทําความผิด และเหตุสมควรเชื่อนี้ตองมีพยานหลักฐาน

                 สนับสนุนเพียงพอ

                             õ.÷.ò ÃÐÂÐàÇÅÒ㹡ÒäǺ¤ØÁ

                                     ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๘๗ ไดบัญญัติหลักเกณฑ
                 ในเรื่องของระยะเวลาในการควบคุมไวดังนี้

                                     มาตรา ๘๗ “หามมิใหควบคุมผูถูกจับไวเกินกวาจําเปนตามพฤติการณแหงคดี
                                     ในกรณีความผิดลหุโทษ จะควบคุมผูถูกจับไวไดเทาเวลาที่จะถามคําใหการ และ
                 ที่จะรูตัววาเปนใครและที่อยูของเขาอยูที่ไหนเทานั้น

                                     ในกรณีที่ผูถูกจับไมไดรับการปลอยชั่วคราว และมีเหตุจําเปนเพื่อทําการสอบสวน
                 หรือการฟองคดี ใหนําตัวผูถูกจับไปศาลภายในสี่สิบแปดชั่วโมงนับแตเวลาที่ผูถูกจับถูกนําตัวไปถึงที่ทําการ

                 ของพนักงานสอบสวนตามมาตรา ๘๓ เวนแตมีเหตุสุดวิสัยหรือมีเหตุจําเปนอยางอื่นอันมิอาจกาวลวง
                 เสียได โดยใหพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการยื่นคํารองตอศาลขอหมายขังผูตองหานั้นไว

                 ใหศาลสอบถามผูตองหาวาจะมีขอคัดคานประการใดหรือไม และศาลอาจเรียกพนักงานสอบสวน
                 หรือพนักงานอัยการมาชี้แจงเหตุจําเปน หรืออาจเรียกพยานหลักฐานมาเพื่อประกอบการพิจารณาก็ได

                                     ในกรณีความผิดอาญาที่ไดกระทําลงมีอัตราโทษจําคุกอยางสูงไมเกินหกเดือน
                 หรือปรับไมเกินหารอยบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ศาลมีอํานาจสั่งขังไดครั้งเดียว มีกําหนดไมเกินเจ็ดวัน
                                     ในกรณีความผิดอาญาที่มีอัตราโทษจําคุกอยางสูงเกินกวาหกเดือนแตไมถึงสิบป

                 หรือปรับเกินกวาหารอยบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ศาลมีอํานาจสั่งขังหลายครั้งติดๆ กันได แตครั้งหนึ่งตอง
                 ไมเกินสิบสองวัน และรวมกันทั้งหมดตองไมเกินสี่สิบแปดวัน

                                     ในกรณีความผิดอาญาที่มีอัตราโทษจําคุกอยางสูงตั้งแตสิบปขึ้นไป จะมีโทษปรับดวย
                 หรือไมก็ตาม ศาลมีอํานาจสั่งขังหลายครั้งติดๆ กันได แตครั้งหนึ่งตองไมเกินสิบสองวัน และรวมกัน
                 ทั้งหมดตองไมเกินแปดสิบสี่วัน
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145