Page 139 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 139

๑๓๒




                          ถาผูตองหาหรือจําเลยที่ศาลจะออกหมายขังนั้นเปนผูซึ่งศาลไดออกหมายจับไว
              หรือตองขังตามหมายศาลอยูแลว ไมวาจะมีผูรองขอหรือไมศาลจะออกหมายขังผูนั้นโดยไมตองไตสวน

              ถึงเหตุแหงการออกหมายตามวรรคหนึ่งก็ได เวนแตมีผูกลาวอางหรือปรากฏตอศาลเองวาไมมีเหตุ
              ที่จะขังผูนั้นตอไป ก็ใหศาลไตสวนหรือมีคําสั่งไดตามที่เห็นสมควร



                          ดังนั้น จากขอกําหนดดังกลาว หากจะนํามาเทียบเคียงกับเรื่องของการควบคุมผูถูกจับนั้น

              ผูจับจะทําการควบคุมตัวผูถูกจับไดมากนอยเพียงใด ควรจะตองคํานึงวา
                          ๑.  ผูตองหาหรือผูถูกจับนั้น นาจะไดกระทําความผิดอาญารายแรงตามที่กฎหมายบัญญัติ

              มากนอยเพียงใด
                          ๒.  ผูตองหาหรือผูถูกจับนั้น นาจะไดกระทําความผิดอาญาและมีเหตุอันควรเชื่อวา

              เขาผูนั้นนาจะหลบหนีหรือจะไปยุงเหยิงกับพยานหลักฐาน หรือกอเหตุอันตรายประการอื่นหรือไม

               ¢ŒÍÊѧà¡μ
                       ในประเทศสหราชอาณาจักรอังกฤษ ในการพิจารณาวาผูถูกจับควรจะตองถูกควบคุมตัวไวที่สถานีตํารวจหรือควร
               จะไดรับอนุญาตใหประกันตัวไดหรือไม จะมีหลักเกณฑในการพิจารณาดังนี้
                       ๑.  เพื่อเปนการรักษาพยานหลักฐานที่เกี่ยวของกับความผิด
                       ๒.  เพื่อตองการสอบปากคําเพิ่มเติม
               และหากเห็นวาควรจะตองมีการควบคุมตัวผูตองหาไว ตามเงื่อนไขที่กฎหมายกําหนด และหากเห็นวาควรจะตองมีการควบคุม
               ตัวผูตองหาไว ตามเงื่อนไขที่กฎหมายกําหนด และเพื่อทราบระยะเวลาที่กฎหมายกําหนดใหเจาพนักงานตํารวจควบคุมตัว
               แลว และมีความจําเปนที่จะตองเอาตัวผูตองหาไวดูแลนั้น จะตองเปนเรื่องการขอหมายขัง ซึ่งศาลอังกฤษจะออกหมายขัง
               หรือไมนั้น จะพิจารณาจาก
                       ๑.  ความผิดที่ผูตองหากระทําเปนความผิดอุกฉกรรจหรือไม
                       ๒.  การควบคุมตัวผูตองหาไวตอไปจะเปนการปองกันพยานหลักฐานหรือเพื่อความจําเปนที่ตองสอบปากคํา
               เพิ่มเติมหรือไม และ
                       ๓.  การสอบสวนไดกระทําจนเปนที่พอใจของศาลหรือไม
                                                                                     (อุดม  จิตธรรม, ๒๕๔๘)



              ÊÃØ»

                          ดังนั้น พอจะกลาวไดโดยสรุปวา การที่เจาพนักงานตํารวจจะควบคุมตัวผูถูกจับหรือไมนั้น
              สิ่งที่เจาพนักงานตํารวจจะตองตระหนักคือ

                          ๑.  จะตอง¾Ô¨ÒóҨҡ¾ÂÒ¹ËÅÑ¡°Ò¹àº×éÍ§μŒ¹·ÕèÊÒÁÒöº‹§ªÕéä´ŒËÃ×ÍäÁ‹วา ผูถูกจับเปน
              ผูกระทําความผิด และความผิดนั้นรายแรงมากนอยเพียงใด

                          ๒.  มีàËμØÊÁ¤Ç÷Õè¨Ð¤Çº¤ØÁμÑÇà¢ÒËÃ×ÍäÁ‹ เชน มีพฤติการณวาจะหลบหนีหรือไปยุงเหยิง
              กับพยานหลักฐาน หรือกอเหตุอันตรายประการอื่นหรือไม
                          ๓.  หากเจาพนักงานตํารวจใชอํานาจในการควบคุมตัวโดยไมเหมาะสม อาจสงผลให

              ถูกฟองรองดําเนินคดีไดดังกลาวมาแลวขางตน
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144