Page 145 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 145

๑๓๘




                          ๔.  กรณีที่มีการจับกุมผูถูกจับหรือผูตองหาตามหมายจับหรือคําสั่งของศาล ใหพนักงาน
              สอบสวนตรวจสอบหมายจับที่ขอความ “ดวยผูรองยื่นคํารองวา...” วามีเหตุผลพิเศษในการขอให

              ศาลออกหมายจับหรือไม หากมีเหตุผลพิเศษใหพึงระมัดระวังเกี่ยวกับอํานาจการควบคุมผูถูกจับ

              หรือผูตองหาของพนักงานสอบสวน (คําสั่ง ตร. ที่ ๔๑๙/๒๕๕๖ ขอ ๔.๔)
                          ๕.  เมื่อมีการอางวาบุคคลใดตองถูกคุมขังในคดีอาญาหรือในกรณีอื่นใดโดยมิชอบดวย
              กฎหมาย ใหพนักงานสอบสวนยื่นคํารองตอศาลแหงทองที่ที่มีอํานาจพิจารณาคดีอาญาขอใหปลอย

              ผูถูกคุมขังโดยมิชอบได
                             กรณีเจาหนาที่ตํารวจ พบวามีการคุมขังผูตองหา หรือผูถูกจับ หรือบุคคลใด

              โดยมิชอบดวยกฎหมาย ใหแจงหัวหนาหนวยงานทราบ และใหเปนหนาที่และความรับผิดชอบ
              ของหัวหนาหนวยงานที่จะตองพิจารณาและวินิจฉัยสั่งการหรือมอบหมายใหพนักงานสอบสวนยื่นคํารอง

              ตอศาลแหงทองที่ที่มีอํานาจพิจารณาคดีอาญาขอใหปลอยผูถูกคุมขังโดยมิชอบนั้น (คําสั่ง ตร. ที่ ๔๑๙/๒๕๕๖

              ขอ ๔.๕)
                          ●  ¢ŒÍ¾Ö§ÃÐÇѧ㹡ÒÃ㪌à¤Ã×èͧ¾Ñ¹¸¹Ò¡ÒÃ

                             การใชเครื่องพันธนาการในการควบคุมตัวผูกระทําผิดนั้นจะกระทําไดก็ตอเมื่อมี
              ความจําเปนเพื่อปองกันมิใหผูกระทําความผิดหลบหนีไปจากการควบคุมของเจาหนาที่ อยางไรก็ตาม
              ถึงแมเจาหนาที่ตํารวจจะมีอํานาจในการควบคุมตัว และมีอํานาจที่จะใชเครื่องพันธนาการกับผูที่กระทํา

              ความผิดได แตก็เปนการใชอํานาจที่กระทบตอสิทธิเสรีภาพของบุคคล แตเมื่อบุคคลใดก็ตามกระทํา

              ความผิดอันมีโทษตามกฎหมายก็สมควรที่จะตองไดรับการลงโทษ ซึ่งการลงโทษผูกระทําความผิดนั้น
              เปนไปตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๘ ดังนั้น การใชอํานาจดังกลาวของเจาหนาที่ตํารวจ

              ก็μŒÍ§คํา¹Ö§¶Ö§ÈÑ¡´ÔìÈÃÕ¤ÇÒÁ໚¹Á¹ØÉดวย
                             ¡ÒÃ㪌à¤Ã×èͧ¾Ñ¹¸¹Ò¡ÒâͧตําÃǨ ตองเปนไปตามประมวลระเบียบการตํารวจ

              เกี่ยวกับคดี ลักษณะ ๖ บทที่ ๔ ขอ ๑๔๖ โดยจะตองคํานึงถึง ดังนี้
                             ๑.  การกระทําผิด เปนคดีประเภทใด อัตราโทษสูงหรือไม

                             ๒.  บุคคล มีบุคคลบางจําพวกที่ควรจะใหเกียรติ เชน (ก) ขาราชการ (ข) พระภิกษุ
              สามเณร นักพรตตาง ๆ (ค) ทหารสวมเครื่องแบบ (ง) ชาวตางประเทศ ชั้นผูดี (จ) หญิง คนชรา เด็ก

              คนพิการ และคนปวยเจ็บซึ่งไมสามารถจะหลบหนีไดดวยกําลังตนเอง (ฉ) พอคา คฤหบดี ซึ่งมีชื่อเสียง
              และมีหลักฐานการทํามาหากินโดยสุจริต

                                 บุคคลดังกลาว ถาไมไดกระทําความผิดอุกฉกรรจ หรือไมไดแสดงกิริยาจะขัดขืน
              หรือหลบหนี ไมควรใชกุญแจมือ เด็กอายุตํ่ากวา ๑๔ ป ถาไมไดกระทําความผิดที่มีอัตราโทษจําคุก

              เกินกวา ๑๐ ป และเฉพาะหญิง คนชรา เด็ก คนพิการและคนปวยเจ็บซึ่งไมสามารถจะหลบหนีไดดวย
              กําลังตนเอง หามใชเครื่องพันธนาการเปนอันขาด
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150