Page 158 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 158

๑๕๑



                 ö.ó »ÃÐàÀ·¢Í§¡Ò䌹

                             เนื่องจากจุดมุงหมายในการคนที่สําคัญคือ คนเพื่อËÒμÑǺؤ¤Å áÅÐà¾×èÍËÒÊÔ觢ͧ
                 การคนเพื่อหาตัวบุคคล ไดแก คนเพื่อหาบุคคลที่มีหมายจับ ตลอดจนบุคคลที่เจาพนักงานตํารวจ

                 สามารถจับได โดยไมตองมีหมายจับตามหลักเกณฑของการจับ หรือเปนการคนเพื่อหาบุคคล
                 ที่ถูกหนวงเหนี่ยวกักขังไว

                             สําหรับการคนหาสิ่งของ ไดแก คนเพื่อพบและยึดสิ่งของ ซึ่งจะเปนพยานหลักฐานประกอบ
                 สํานวน คนเพื่อหาสิ่งของที่อาจเปนวัตถุพยานหรือพยานเอกสาร ซึ่งมีไวเปนความผิดหรือไดมาโดยผิด

                 กฎหมาย หรือเพื่อหาวัตถุสิ่งของที่มีเหตุอันควรสงสัยวาไดใชหรือตั้งใจจะใชในการกระทําความผิด
                             ดังที่กลาวมาแลวขางตนวาจุดมุงหมายของการคน คือ เพื่อหาตัวบุคคลและเพื่อหาสิ่งของ

                 แตเนื่องจากการคนมีความหลากหลาย จึงขอสรุปเปนประเภทของการคนตามที่ประมวลกฎหมายวิธี
                 พิจารณาความอาญาไดระบุไว กลาวคือ

                             ๑.  การคนสถานที่
                             ๒.  การคนตัวบุคคล


                             ö.ó.ñ ¡Ò䌹ʶҹ·Õè

                                     ñ) ¡Ò䌹㹷ÕèÃâ˰ҹ เนื่องจากการคนเปนการละเมิดสิทธิเสรีภาพในที่อยู
                 อาศัยของบุคคลดังที่กลาวมาแลว ดังนั้น แมวาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาจะใหอํานาจ

                 แกเจาพนักงานตํารวจในการคนก็ตาม แต਌Ҿ¹Ñ¡§Ò¹ตําÃǨ¨ÐࢌҤŒ¹ã¹·ÕèÃâ˰ҹอันเปนสถานที่
                 ที่บุคคลทั่วไปไมมีความชอบธรรมที่จะเขาไปในสถานที่แหงนั้นได ¡çμ‹ÍàÁ×èÍÁÕËÁÒ¤Œ¹ËÃ×ÍคําÊÑè§

                 ¢Í§ÈÒÅà·‹Ò¹Ñé¹ (มาตรา ๙๒ วรรคแรก)
                                     อยางไรก็ตาม เมื่อจุดมุงหมายในการคนเพื่อหาตัวบุคคลหรือสิ่งของดังกลาว

                 ที่อยูภายในที่รโหฐานสามารถดําเนินการได ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๙๒

                 ไดกําหนดขอยกเวนไวใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ ซึ่งมีอํานาจคนนั้น สามารถเขาทําการคน
                 ภายในที่รโหฐานได โดยไมมีหมายคน
                                     มาตรา ๙๒   “หามมิใหคนในที่รโหฐานโดยไมมีหมายคนหรือคําสั่งของศาล

                 เวนแตพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจเปนผูคน และในกรณีดังตอไปนี้

                                     (๑)  เมื่อมีเสียงรองใหชวยมาจากขางในที่รโหฐาน หรือมีเสียงหรือพฤติการณ
                 อื่นใดอันแสดงไดวามีเหตุรายเกิดขึ้นในที่รโหฐานนั้น

                                     (๒)  เมื่อปรากฏความผิดซึ่งหนากําลังกระทําลงในที่รโหฐาน
                                     (๓)  เมื่อบุคคลที่ไดกระทําความผิดซึ่งหนา ขณะที่ถูกไลจับหนีเขาไปหรือมีเหตุ

                 อันแนนแฟนควรสงสัยวาไดเขาไปซุกซอนตัวอยูในที่รโหฐานนั้น
   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163