Page 163 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 163

๑๕๖




              เชนนี้ ถือวาเปนสาธารณสถาน และไมตองคํานึงวา เจาของสถานที่นั้น ๆ ไดใชสถานที่นั้นประกอบ
              กิจการที่ผิดกฎหมายหรือไม เชน บอนการพนัน หรือสถานประกอบการคาประเวณีก็ตาม เชน

              หองพักที่ใชสําหรับใหหญิงคาประเวณี ทําการคาประเวณีกับบุคคลทั่วไป ถือไดวาเปนสาธารณสถาน
              (คําพิพากษาฎีกาที่ ๖๙/๒๕๓๕) หรือแมกรณีเจาของสถานที่ไดใชเปนที่พักอาศัยดวยก็ตาม แตเจาของ
              เปดเปนรานขายของที่ประชาชนทั่วไปเขาไปได เชนนี้ ก็เปนสาธารณสถานได เชน ขณะที่เจาพนักงาน

              ตํารวจเขาทําการตรวจคนจําเลยนั้น จําเลยกําลังขายกวยเตี๋ยวอยูที่รานกวยเตี๋ยวของจําเลย ซึ่งมีลูกคา
              กําลังนั่งรับประทานกวยเตี๋ยวอยูที่รานของจําเลย ทั้งนี้ รานกวยเตี๋ยวของจําเลยจึงหาใชเปนที่รโหฐานไม

              แตเปนที่สาธารณสถาน เมื่อเจาพนักงานตํารวจมีเหตุอันควรสงสัยวาจําเลยมีเมทแอมเฟตามีนไวใน
              ครอบครอง อันเปนความผิดตอกฎหมาย เจาพนักงานตํารวจยอมมีอํานาจคนไดโดยไมตองมีหมายคน

              (คําพิพากษาฎีกาที่ ๓๗๕๑/๒๕๕๑)


                          ö.ó.ò ¡Ò䌹μÑǺؤ¤Å
                                  ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาไดวางแนวทางในการคนตัวบุคคล
              เอาไวในหลายมาตราดวยกัน จึงขอแยกออกเปน

                                  -    การคนตัวบุคคลในที่รโหฐาน
                                  -    การคนตัวบุคคลในที่สาธารณสถาน

                                  -    การคนตัวบุคคลหลังการจับ
                                  ñ) ¡Ò䌹μÑǺؤ¤Åã¹·ÕèÃâ˰ҹ

                                       ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๑๐๐ วรรคสอง “ถามี
              เหตุอันควรสงสัยวาบุคคลนั้นไดเอาสิ่งของที่ตองการพบซุกซอนในรางกาย เจาพนักงานผูคนมีอํานาจ

              คนตัวผูนั้นได ดังบัญญัติไว ตามมาตรา ๘๕”
                                       จากแนวคิดในเรื่องการคุมครองสิทธิ ในการคนตัวบุคคลนั้นกฎหมาย
              มุงคุมครองสิทธิเสรีภาพรางกาย ดังนั้น ในการคนตัวบุคคลจะกระทําไดตอเมื่อมีกฎหมายใหอํานาจไว

              และเงื่อนไขที่กฎหมายบัญญัติไว ¡‹Í¹·Õè਌Ҿ¹Ñ¡§Ò¹¼ÙŒ·Õ褌¹μÑǹÑé¹ จะใชอํานาจไดตอเมื่อ “มีเหตุอันควร
              สงสัย” และเหตุในการสงสัยในกรณีของการคนตัวบุคคลในที่รโหฐาน คือ “มีเหตุอันควรสงสัยวาºØ¤¤Å

              ¹Ñé¹ä´ŒàÍÒÊÔ觢ͧ·ÕèμŒÍ§¡Òþº«Ø¡«‹Í¹ã¹Ã‹Ò§¡Ò”


                                    μÑÇÍ‹ҧ

                                       ๑.  กรณีเปนการคนโดยมีหมายคน เชน หมายคนระบุใหคนหาสิ่งของ
              ในบานของนาย เอ  ร.ต.อ.เอก ไดนําหมายคนระบุใหคนหาสิ่งของในบานของนาย เอ ขณะที่เขาตรวจคน

              ภายในบานของนาย เอ นั้น ร.ต.อ.เอก ไดพบนาย บี อยูภายในบานหลังนั้น และ ร.ต.อ.เอก พิจารณา
              จากสถานการณในขณะนั้น มีàËμØ¤ÇÃʧÊÑÂNjҹÒ ºÕ ¹‹Ò¨ÐàÍÒÊÔ觢ͧ·ÕèμŒÍ§¡Òà (ตามที่ระบุในหมายคน)

              ซุกซอนในรางกายเชนนี้ ร.ต.อ.เอก อาศัยอํานาจมาตรา ๑๐๐ วรรคสอง ในการคนตัวนาย บี ได
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168