Page 167 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 167

๑๖๐




                                  (ò) 㹡óթءà©Ô¹Í‹ҧÂÔè§
                                       กรณีใดถือวาเปนกรณีฉุกเฉินนั้น คําสั่งพนักงานตํารวจแหงชาติ ที่ ๔๑๙/๒๕๕๖

              ลงวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖ เกี่ยวกับการคน ขอ ๒.๒ (๒) วรรคสอง ไดระบุวา “¡Ã³Õ©Ø¡à©Ô¹ หมายถึง
              กรณีที่จะตองเขาจัดการในทันทีทันใด ถารอชาจะไมเปนการเหมาะสมแกพฤติการณ ทั้งนี้ใหพิจารณา

              จากความรายแรงของความผิด พฤติการณในการกระทําความผิดและการไดมาซึ่งพยานหลักฐาน
              ในคดี เชน เจาพนักงานตํารวจเห็นเจาของบานกับพวกกําลังตมกลั่นสุราอยูในบานเวลากลางคืน

              ถาไมจับขณะกําลังกระทําผิด ก็จะไมเปนการประจักษแจงวาผูนั้นกระทําความผิดและจะไมได
              พยานหลักฐานของกลาง หรือไดไมครบถวนบริบูรณ ดังในเวลากระทําผิด ถาปลอยใหเนิ่นชาไป

              โดยไมจับทันที ก็อาจจับกุมผูกระทําผิดไมไดเลยทั้งพยานหลักฐานตาง ๆ ก็อาจสูญหาย หรือถูกทําลาย
              ไปหมด จึงเปนกรณีฉุกเฉินอยางยิ่ง”


               ¢ŒÍÊѧà¡μ
                      ๑)  แตถาเปนการกระทําความผิดลหุโทษ แมกระทําผิดซึ่งหนา หากเจาพนักงานรูจักหลักแหลงของผูกระทําผิด
               ไมเปนกรณีฉุกเฉินอยางยิ่ง
                      ๒)  นอกจากนี้ ศ.ดร.หยุด แสงอุทัย ไดทําบันทึกทายคําพิพากษาฎีกาที่ ๖๗๕/๒๔๘๓ ในเรื่องความหมายคําวา
               “ฉุกเฉินอยางยิ่ง” หมายถึง ถาไมคนในเวลากลางคืน จะเกิดภยันตรายแกชีวิตหรือรางกายของบุคคลที่ตองการคนใหพบตัว
               หรือบุคคลนั้นอาจจะหลบหนีไป หรือพยานหลักฐานที่ปรากฏอยูในที่รโหฐานนั้นอาจถูกทําลายก็ได ทั้งคดีนั้นตองมีลักษณะ
               รายแรงไมใชคดีเล็ก ๆ นอย ๆ



              μÑÇÍ‹ҧคํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒŮաÒ



                          ● ໚¹¡Ã³Õ©Ø¡à©Ô¹Í‹ҧÂÔè§ μÒÁ ».ÇÔ.Í. ÁÒμÃÒ ùö (ò)



                             คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè óùñò/òõõó    ศาลชั้นตนออกหมายคนระบุให

              รอยตํารวจเอก ก. มีอํานาจไปคนบานที่เกิดเหตุของจําเลยที่ ๑ เพื่อพบและยึดสิ่งของ ยาเสพติด

              ใหโทษและอื่น ๆ ไดในวันเกิดเหตุ ตั้งแตเวลา ๒๑ นาฬกา จนเสร็จสิ้นการตรวจคน แสดงวาศาลชั้นตน
              ตองพิจารณาแลวเห็นวามีเหตุฉุกเฉินอยางยิ่งที่จะตองใหเจาพนักงานทําการตรวจคนในเวลากลางคืน
              อันเปนขอยกเวนตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๙๖ (๒) แลว เมื่อรอยตํารวจเอก ก. นําหมายคนดังกลาวไปคนบาน

              ที่เกิดเหตุในเวลากลางคืนตามวันเวลาที่ศาลชั้นตนใหอํานาจการคนที่บานเกิดเหตุจึงชอบดวยกฎหมาย
                             คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè ÷óø÷/òõôó  กอนการคนบานผูตองหาครั้งนี้

              เจาพนักงานตํารวจไดจับกุม ท. พรอมเมทแอมเฟตามีนจํานวน ๙๕ เม็ด ในเวลา ๑๖ นาฬกาเศษ
              การคนในที่รโหฐานตามปกติจะตองกระทําในเวลากลางวันตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๙๖ ขณะนั้นเปนเวลา
              เย็นใกลจะมืดแลว ประกอบกับยาเสพติดเปนสิ่งของที่ขนยายหลบหนีไดงายโดยเฉพาะในเวลากลางคืน

              นอกจากนี้สถานีตํารวจภูธรอําเภอหางฉัตรมิไดอยูใกลกับศาลชั้นตน การไปขอใหศาลชั้นตนออก
   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172