Page 187 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 187

๑๘๐




                                 μÑÇÍ‹ҧ
                                 นาย ก. ไดเห็นเหตุการณขณะที่นาย เอ ยกปนขึ้นยิงนาย บี ถึงแกความตาย

              ดังนั้น การที่นาย ก. มาเบิกความตอศาลบอกกลาวถึงเหตุการณขณะที่นาย เอ ยิงนาย บี นั้นวาเปน
              อยางไร เชนนี้ เห็นไดวาเปนถอยคําที่มาจากความทรงจําที่นาย ก. ประสบมาดวยตนเองแลว ศาลได

              จดบันทึกถอยคําที่นาย ก. เลามานั้นลงในสํานวนเชนนี้ นาย ก. จึงเปนพยานบุคคล



                                 ¾ÂÒ¹àÍ¡ÊÒà หมายถึง ขอความใด ๆ ที่สามารถสื่อความหมายไดโดยอยูในรูป
              หนังสือลายลักษณอักษร แผงผัง รูปรอยใดซึ่งสามารถแสดงความหมายได โดยขอความเหลานั้นไดถูก

              บันทึกไวบนกระดาษหรือวัตถุใดๆ ซึ่งศาลจะนําความหมายของขอความนั้น ๆ มาใชในการพิจารณา
              พิพากษาคดี เชน หนังสือสัญญา บันทึกคําใหการ จดหมาย เอกสารราชการ แผนปาย ไมโครชิปที่ได

              บันทึกขอมูล เปนตน
                                 μÑÇÍ‹ҧ

                                 ๑)  ขอความที่นาย ข. ที่ลงพิมพในหนังสือพิมพกลาวหาวานาย ค. เปนคนมี

              พฤติกรรมสําสอนทางเพศ ซึ่งทําใหนาย ค. ไดรับความอับอาย เชนนี้ หนังสือพิมพที่มีขอความดังกลาว
              จึงเปนพยานเอกสารที่นาย ค. นําเสนอตอศาลได
                                 ๒)  นาย ง. ไดนําเสนอศิลาจารึกโบราณมาเปนพยานหลักฐานในคดี และแมวา

              ขอความในศิลาจารึก ซึ่งเปนภาษาโบราณที่จะตองใชผูที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะจึงจะอานและเขาใจ

              ความหมายนั้นได แตเมื่อนาย ง. ไดเสนอใหศาลไดรับรูถึงขอความที่ปรากฏบนหลักศิลาจารึกวา
              มีใจความอยางไรผานลามซึ่งเปนผูเชี่ยวชาญนั้นก็ตาม เชนนี้ ศิลาจารึกนั้นก็อยูในฐานะพยานเอกสาร

                                 แตหากวานาย ง. นําศิลาจารึกมาเสนอตอศาลเพื่อใหศาลพิจารณาถึงรูปลักษณ
              ของศิลาจารึกวามีรูปราง ขนาด นํ้าหนัก เทาใด นํามาจากหินชนิดใด โดยมิไดคํานึงถึงขอความที่ปรากฏ

              บนศิลาจารึกนั้นเลย เชนนี้ ศิลาจารึกนั้นก็อยูในฐานะพยานวัตถุ



                                 ¾ÂÒ¹ÇÑμ¶Ø  หมายถึง วัตถุสิ่งของใด ๆ ที่นําเสนอตอศาลเพื่อใหศาลพิจารณา
              รูปลักษณะ ขนาด นํ้าหนัก คุณลักษณะ ของวัตถุหรือสิ่งของนั้น ๆ ตลอดจนรองรอยตาง ๆ ที่ปรากฏใหเห็น

                                 μÑÇÍ‹ҧ
                                 ๑)  นาย บี ใชทอนไมขนาดยาว ๑ เมตร หนา ๕ นิ้ว ทุบตีนาย ดี จนไดรับ

              บาดเจ็บสาหัส โจทกจึงไดนําทอนไมดังกลาวมาเสนอตอศาลเพื่อใหศาลพิจารณาวาดวยรูปลักษณะ
              และขนาด นํ้าหนักของไมดังกลาว จะสามารถทําใหนาย ดี ถึงกับเปนอันตรายสาหัสไดหรือไม เชนนี้

              ทอนไมดังกลาวจึงเปนพยานวัตถุ
   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192