Page 200 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 200

๑๙๓




                 μÑÇÍ‹ҧคํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒŮաÒ
                             คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè øñôø/òõõñ  เจาพนักงานตํารวจเปนผูจับจําเลยมิใชราษฎรเปน

                 ผูจับจึงไมมีกรณีที่จะตองแจงสิทธิตาม ป.วิ.อาญา มาตรา ๘๔ วรรคหนึ่ง แตเจาพนักงานตํารวจผูจับ
                 ตองแจงสิทธิตาม ป.วิ.อาญา มาตรา ๘๓ วรรคสอง เมื่อบันทึกการจับกุมมีขอความวาจําเลยใหการ

                 รับสารภาพ จึงตองหามมิใหนําคํารับสารภาพในชั้นจับกุมของผูถูกจับมารับฟงเปนพยานหลักฐานตาม
                 ป.วิ.อาญา มาตรา ๘๔ วรรคสี่ และเมื่อบันทึกการจับกุมไมมีขอความใดที่บันทึกการแจงสิทธิแกจําเลย

                 ผูถูกจับตามที่ ป.วิ.อาญา มาตรา ๘๓ วรรคสองบัญญัติเลย ทั้งพยานโจทกที่รวมจับกุมก็ไมไดเบิกความ
                 ถึงเรื่องการแจงสิทธิแตอยางใด แมโจทกจะสงบันทึกการแจงสิทธิผูถูกจับมาพรอมกับบันทึกการจับกุม

                 ในชั้นพิจารณาสืบพยานโจทก แตบันทึกการแจงสิทธิผูถูกจับดังกลาวมีลักษณะเปนแบบพิมพเติมขอความ
                 ในชองวางดวยนํ้าหมึกเขียนโดยเจาพนักงานตํารวจผูบันทึกเปนคนละคนกับที่เขียนบันทึกการจับกุม

                 ทั้งใชปากกาคนละดามและไมมีขอความวาผูถูกจับมีสิทธิจะใหการ หรือไมใหการก็ได กับไมมีขอความ
                 วาถอยคําของผูถูกจับนั้นอาจใชเปนพยานหลักฐานในการพิจารณาคดีไดแตอยางใด แมจะมีขอความ

                 แจงสิทธิเรื่องทนายความก็เปนการแจงสิทธิไมครบถวนตามที่ ป.วิ.อาญา มาตรา ๘๓ วรรคสองบัญญัติ
                 ฉะนั้นถอยคําอื่นของจําเลยตามบันทึกการจับกุมจะรับฟงเปนพยานหลักฐานในการพิสูจนความผิดของ

                 จําเลยหาไดไมเชนกัน ดังนั้น บันทึกการจับกุมจึงไมอาจอางเปนพยานหลักฐานไดเพราะเปนพยาน
                 หลักฐานที่เกิดขึ้นโดยไมชอบ ทั้งนี้ ตาม ป.วิ.อาญา มาตรา ๒๒๖

                             คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè õùõ÷/òõõõ  ถอยคําตามบันทึกการจับกุมที่วามีการตรวจคน

                 พบธนบัตรที่ใชลอซื้อ และจําเลยรับวาเปนธนบัตรที่ตนไดมาจากการจําหนายเมทแอมเฟตามีนจริง”
                 กับคําเบิกความของ ร.ต.อ. อ. และ ด.ต. ท. ที่ยืนยันวาจําเลยรับวาตนเปนผูปลูกตนกัญชา เปนเพียง
                 ถอยคําอื่นที่จําเลยใหไวแกเจาพนักงานตํารวจผูจับกุม มิใชคํารับสารภาพในชั้นจับกุม เมื่อปรากฏตามบันทึก

                 การจับกุมวาเจาพนักงานตํารวจผูจับกุมแจงสิทธิแกจําเลยตามถอยคํา ตาม ป.วิ.อาญา มาตรา ๘๓ วรรคสอง

                 แลว การที่ศาลอุทธรณภาค ๕ นําถอยคําอื่นของจําเลยมารับฟงเปนพยานหลักฐานในการพิสูจน
                 ความผิดจําเลยฐานมีเมทแอมเฟตามีนไวในครอบครองเพื่อจําหนาย และจําหนายเมทแอมเฟตามีน
                 กับฐานผลิตกัญชา จึงชอบดวย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๘๔ วรรคทายแลว




                                     ò) คําãËŒ¡Òâͧ¼ÙŒμŒÍ§ËÒ㹪Ñé¹ÊͺÊǹ  ซึ่งเปนถอยคําหรือคําใหการของ
                 ผูตองหาที่ไดใหการตอพนักงานสอบสวนในชั้นสอบสวน ซึ่งในเรื่องนี้ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา

                 ความอาญา มาตรา ๑๓๔/๔ ไดบัญญัติวา
                                         “ในการถามคําใหการผูตองหา ใหพนักงานสอบสวนแจงใหผูตองหาทราบ

                 กอนวา
                                         (๑)  ผูตองหามีสิทธิที่จะใหการหรือไมก็ได ถาผูตองหาใหการ ถอยคําที่

                 ผูตองหาใหการนั้นอาจใชเปนพยานหลักฐานในการพิจารณาคดีได
   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205