Page 219 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 219

๒๑๒




                                 สําหรับของกลางนั้น หากไมอางในบัญชีระบุพยานไวก็มีฐานะเปนเพียง
              ของกลางในคดีเทานั้น ของกลางจะเปนพยานวัตถุในคดีไดตอเมื่อ ไดอางของกลางนั้นเปนพยาน

              ในการพิจารณาคดี
                          ÷.õ.ó ¡ÒÃนําÊ׺¾ÂÒ¹ÇÑμ¶Ø

                                 จากประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒๔๑ ซึ่งไดบัญญัติวา
              “สิ่งใดใชเปนพยานวัตถุตองนํามาศาล

                                 ในกรณีที่นํามาศาลไมไดใหศาลไปตรวจ จดรายงาน ยังที่ที่พยานวัตถุนั้นอยู
              ตามเวลาและวิธีการซึ่งศาลเห็นสมควรตามลักษณะแหงพยานวัตถุ”

                                 จากบทบัญญัติดังกลาวจะเห็นไดวาการสืบพยานวัตถุ มีหลักเกณฑที่ไมยุงยาก
              ซึ่งอาจแยกพิจารณาไดคือ

                                 ๑.  ¡ÒÃÊ׺¾ÂÒ¹ÇÑμ¶Øã¹ÈÒÅ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
              มาตรา ๒๔๑ วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “สิ่งใดที่ใชอางเปนพยานวัตถุตองนํามาศาล” จึงเปนกรณีที่

              วัตถุพยานเปน “สังหาริมทรัพย” ที่สามารถนํามาศาลได เชน อาวุธมีดที่ใชแทงทํารายรางกายผูเสียหาย

              หรือปลอกกระสุนปน ยาเสพติด อาวุธปน ยาฆาสัตว รองเทา เชือก เปนตน
                                     ใหคูความฝายที่อางพยานวัตถุนั้น นําวัตถุหรือสังหาริมทรัพยที่จะใชเปน
              พยานนั้นมาศาล ในวันที่จะทําการสืบพยาน ซึ่งจะตองใหคูความหรือพยานที่เกี่ยวของไดตรวจดูวัตถุ

              ที่จะนํามาเปนพยานนั้นดวยวาเปนวัตถุชิ้นเดียวกับที่อางหรือไม แลวศาลก็จะทําการตรวจวัตถุนั้น

              แลวจดลงในรายงานกระบวนพิจารณาหรือบันทึกไวในคําเบิกความของพยานที่กลาวถึงพยานวัตถุนั้น
              เพราะในการสืบพยานวัตถุนั้นบางครั้งตองสืบพยานบุคคลประกอบดวย

                                 ๒.  ¡ÒÃÊ׺¾ÂÒ¹ÇÑμ¶Ø¹Í¡ÈÒÅ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
              มาตรา ๒๔๑ วรรคสอง บัญญัติวา “ในกรณีที่นํามาไมได ใหศาลไปตรวจ จดรายงานยังที่ที่พยานวัตถุ

              นั้นอยูตามเวลาและวิธีซึ่งศาลเห็นสมควรตามลักษณะแหงพยานวัตถุ” เชน บุคคลที่จะตรวจนอนปวยที่
              โรงพยาบาล หรือพยานวัตถุเปนอสังหาริมทรัพย หรือสถานที่เกิดเหตุ ตําแหนงซึ่งพยานอางวาไปแอบดู

              เหตุการณ เชนนี้ มาตรา ๒๔๑ วรรคสอง ไดใหดุลพินิจแกศาลที่จะไปทําการตรวจดู หรือที่เรียกวา
              “เดินเผชิญสืบ” ณ สถานที่ เวลาที่คูความระบุไวหรือไมก็ได

                                     นอกจากนี้จากมาตรา ๒๓๐ เมื่อคูความที่เกี่ยวของรองขอหรือเมื่อศาลเห็น
              เปนการสมควร ศาลอาจเดินเผชิญสืบพยานหลักฐานหรือเมื่อมีเหตุจําเปนไมสามารถนําพยานหลักฐาน

              มาสืบที่ศาลนั้น และการสืบพยานหลักฐานโดยวิธีอื่นไมสามารถกระทําได ศาลมีอํานาจสงประเด็นให
              ศาลอื่นสืบพยานหลักฐานแทน ใหศาลที่รับประเด็นมีอํานาจและหนาที่ดังศาลเดิม รวมทั้งมีอํานาจ

              สงประเด็นตอไปยังศาลอื่นได
   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224