Page 23 - การให้รหัสโรค
P. 23
12
ความหมายของ ICD-10
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 องค์การอนามัยโลกได้พฒนาระบบการจัดหมวดหมู่ของโรคและปัญหา
ั
สุขภาพต่างๆ ที่พบในมนุษย์ ใช้หลักการของ Nosology หรือศาสตร์แห่งการจัดหมวดหมโรคโดย
ู่
ี
การจัดกลุ่มโรคที่มลักษณะใกล้เคียงกันมาอยู่ในหมวดเดียวกันและมีการกำหนดรหัสเป็นสัญลักษณ์
แทนโรคหรือปัญหาสุขภาพ เรียกว่า “International Classification of Diseases and
Related Health Problem 10 Revision” มีชื่อย่อว่า “ICD-10” เรียกว่า “บัญชีจำแนกโรค
th
ระหว่างประเทศ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 10” ซึ่งเป็นระบบรหัสโรคและการจัดกลุ่มโรครวมถึงปัญหาสุขภาพ
ที่มีการปรับปรุงทุก 10 ปี ดังภาพที่ 2.1
“ICD-10”
International Classification of Diseases and Related Health Problem 10 Revision
th
มี 2 องค์ประกอบ
➢ ระบบการจัดหมวดหมู่ของโรคและปัญหาสุขภาพ
➢ ระบบรหัสของกลุ่มโรคและรหัสปัญหาสุขภาพ โดยการ
กำหนดรหัสเป็นสัญลักษณ์
ภาพที่ 2.1 ความหมายและองค์ประกอบของ ICD-10
ชุดหนังสือ ICD-10
ื่
องค์การอนามัยโลกได้จัดทำหนังสือ ICD-10 เพอให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขบันทึกลงใน
เวชระเบียน หรือเวชระเบียนอเล็กทรอนิกส์ เก็บรวบรวมไว้เป็นข้อมูลทางสถิติเพอประโยชน์ต่อการ
ื่
ิ
วางแผนด้านสุขภาพในระดับสากล ต้นฉบับ ICD-10 เดิม เป็นภาษาอังกฤษซึ่งเป็นหนังสือชุด ชุดหนึ่งมี
จำนวน 3 เล่ม ประกอบด้วย เล่มที่ 1 หรือ ตารางการจัดกลุ่มโรค (Tabular List) เล่มที่ 2
Instruction Manual และเล่มที่ 3 หรือ ดรรชนีค้นหารหัสโรค (Alphabetical Index) ได้มีการแปล
แปลออกมาหลายภาษา เช่น ภาษารัสเซีย ภาษาเยอรมัน ภาษาสเปน ภาษาโปตุเกส ภาษาจีน
ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอาหรับ เป็นต้น ส่วน ICD-10 ฉบับแปลเป็นภาษาไทยตั้งแต่ฉบับแรก พ.ศ. 2541
HM 4633 การให้รหัสโรค ดร.อมรรัตน์ ลือนาม คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ